Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ้นเรื่อง, เรื่อง, สิ้น , then รอง, เรื่อง, สน, สนรอง, สิ้น, สิ้นเรื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ้นเรื่อง, 566 found, display 301-350
  1. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  2. นสฺสน : นป. ความพินาศ, ความฉิบหาย, ความทำลาย, สูญหาย
  3. นาวิกสาสน : (นปุ.) ข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ, กฎหมายเกี่ยวกับการเดินเรือ ในน่านน้ำทั่วไป, นาวิกศาสน์. ส. นาวิกศาสน.
  4. นาสน : (นปุ.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
  5. นิฆสน : นป. ดู นิฆํส
  6. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  7. นิทสฺสน : (วิ.) แสดงออก, อ้าง, อ้างถึง, เป็น ตัวอย่าง.
  8. นิพฺพสน : ค. ผ้าที่ใช้แล้ว, ผ้าที่เขาทิ้งแล้ว, ผ้าบังสุกุล
  9. นิมิส นิมฺมิส นิมฺมิสน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, นิสฺ นิมฺมิสเน, อ.
  10. นิวาสน : (นปุ.) การอยู่, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  11. นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
  12. นิเวสน : นป. ดู นิเวส
  13. นิสฺสน : ป., นป. เสียง
  14. นีจาสน : นป. ที่นั่งต่ำ
  15. ปกาสน : นป. การประกาศ
  16. ปฏินิวาสน : นป. ผ้านุ่งห่มที่ให้ตอบแทน, ผู้นุ่งที่ผลัดออก
  17. ปฏิสาสน : นป. หนังสือตอบ, จดหมายตอบ, คำตอบ
  18. ปณฺฑุกมฺพลสิลาสน : นป. แท่นศิลาที่มีสีเหมือนผ้ากัมพล, ชื่อแท่นที่ประทับนั่งของพระอินทร์
  19. ปทุสฺสน : (นปุ.) การประทุษร้าย, ความประ ทุษร้าย.ปปุพฺโพ, ทุสฺโทสเน ยุ, สฺสํโยโค
  20. ปเทสน : (นปุ.) การจัดแจง, การสละ, การให้. ปปุพฺโพ, ทิสฺ อติสชฺชเน, ยุ.
  21. ปธสน : นป. ดู ปธํส
  22. ปนฺตเสนาสน : นป. เสนาสนะอันสงัด, ที่พำนักซึ่งห่างไกลผู้คน
  23. ปภสน : ค., นป. การขัดสี; การฉกชิง, การลักไป
  24. ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
  25. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  26. ปริกิลิสฺสน : นป. ความเศร้าหมอง
  27. ปริภาสน : นป. ดู ปริภาส
  28. ปริสุสฺสน : นป. ความซูบซีด, ความเหี่ยวแห้ง, ความอิดโรย
  29. ปวสฺสน : นป. การตกแห่งฝน, ฝนตก
  30. ปวิสน : นป. การเข้าไป
  31. ปสสน : นป., ปสํสา อิต. การสรรเสริญ, การยกย่อง, การชมเชย
  32. ปากสสน : ป. พระอินทร์
  33. ปาปทสฺสน : นป. ความเห็นอันชั่วร้าย, มิจฉาทิฐิ
  34. ปิยทสฺสน : นป. การได้เห็นสิ่งอันน่ารักน่าพอใจ
  35. ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
  36. เปสน : (นปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
  37. โปสน : (นปุ.) ความงอกงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปสฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ปุสฺ โปสเน, ยุ.
  38. ผสฺสน : (นปุ.) อันกระทบ, ฯลฯ, ความถูกต้อง. ยุ ปัจ. แปลว่า การถือ ก็มี.
  39. ผุสน : (นปุ.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
  40. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  41. พาหุมูลวิภูสน : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลแขน, กำไลมือ.
  42. พีภจฺฉทสฺสน : นป. การเห็นแจ้ง, การเห็นเป็นสิ่งน่าสยดสยองหรือน่ากลัว
  43. พุทฺธสาสน : (นปุ.) ศาสนาแห่งท่านผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ศาสนาของพระ พุทธเจ้า, ศาสนาพุทธ, พุทธศาสนา, พุทธสาสนา, โดยมากใช้รูปสันสกฤต คือ พุทธศาสนา.
  44. ภสฺสน : (นปุ.) คำ, ฯลฯ. ภสฺส วจเน, ยุ.
  45. ภาสน : (นปุ.) อันกล่าว, ฯลฯ, การกล่าว, ฯลฯ, คำกล่าว, ฯลฯ, ภาสน์ ภาษณ์ (การพูด).
  46. ภีม, ภีสน : ค. น่ากลัว
  47. ภึสน : (นปุ.) ความกลัว, ฯลฯ.
  48. ภูสน : (นปุ.) อันประดับ, การประดับ, เครื่องประดับ, เครื่องอาภรณ์. ภูสฺ อลงฺ-กาเร, ยุ.
  49. มรณพฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ คือความตาย, ทุกข์เครื่องยังสุขให้ฉิบหายคือความตาย, ความตายและความฉิบหาย.
  50. มริสน : (นปุ.) การทน, การอดทน, การอดกลั้น, การทนทาน, ความทน, ฯลฯ. มริสุสหเณ, ยุ. มริสฺ ติติกฺขายํ วา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-566

(0.0545 sec)