Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ้นเรื่อง, เรื่อง, สิ้น , then รอง, เรื่อง, สน, สนรอง, สิ้น, สิ้นเรื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ้นเรื่อง, 566 found, display 351-400
  1. มหาสน : (นปุ.) แปลเหมือน มหานส. มหนฺต+อส. ธาตุ ในความกิน ยุ ปัจ.
  2. มุสน : (นปุ.) การลัก, การขโมย. มุสฺ เถยฺเย, ยุ.
  3. โมสน : นป. การลัก
  4. ราชนิเวสน : นป. ราชนิเวสน์, พระราชวัง
  5. รูปทสฺสน : นป. การเห็นรูป
  6. วฺยสน : นป. ความฉิบหาย
  7. วสฺสน : นป. ฝนตก
  8. วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
  9. วิภูสน : นป. การประดับ, เครื่องประดับ
  10. วิเสสน : นป. ความยอดเยี่ยม
  11. วิหึสน : นป. การเบียดเบียน
  12. วีมสน : นป. การทดลอง, การพิจารณา
  13. สนฺทสฺสน : (นปุ.) การแสดง, การชี้แจง. สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส.
  14. สมฺปหสน : (นปุ.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  15. สมฺภาสน : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.
  16. สมฺมสน : (นปุ.) การลูบคลำ, ความลูบคลำ. สํปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ.
  17. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  18. สราสน : (นปุ.) ธนู, ศร. วิ. สรํ อสตีติ สราสนํ. อสุ เขปเน, ยุ.
  19. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  20. สาสนทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้รับมรดกในศาสนา, บุคคลผู้สืบอายุศาสนา, บุคคลผู้สืบศาสนา.
  21. สาหุทสฺสน : ก. การเห็นดี
  22. สิริยสน : (นปุ.) ที่นอนอันเป็นสิริ, ที่บรรทม.
  23. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  24. สีน : กิต. จมแล้ว
  25. สีหาสน : (นปุ.) ราชอาสน์ทอง วิ. สีหากติปฺปธานํ อาสนํ สีหาสนํ, ราชูนํ สุวณฺณขฺจิตํ อาสนํ.
  26. สุทสฺสน : (วิ.) เห็นดี, เห็นงาม, พึงใจ, น่าดู, งาม, งดงาม, สวย.
  27. สุนี : (อิต.) สุนัขตัวเมีย, หมาตัวเมีย. ส. สุนี.
  28. สุนุ : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, บุตร. สุ สนฺธานปาณคพฺภิโมจนสวเนสุ, นุ.
  29. สุวสน : (วิ.) นุ่งห่มผ้าอันงาม. สุนฺทร+วตฺถ+วสน.
  30. สุสฺสน : (นปุ.) ความเหี่ยว, ความแห้ง, ความผาก. สุสฺโสสเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เปน อน.
  31. สูน : ๑. ค. บวม, พอง; ๒. ป. สุนัข
  32. สูนุ : ป. บุตร
  33. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  34. เสน : (นปุ.) การนอน วิ สยนํ เสนํ. ที่นอน วิ. สยติ อเตรฺติ เสนํ. สิ สยเณ, ยุ.
  35. เสน, เสนก : ป. เหยี่ยวดำ; ที่นอน
  36. เสนาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนและที่เป็นที่นั่ง, ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่, เสนาสน์.
  37. เสนาสนคาหาปก : ป. ผู้แจกจ่ายเสนาสนะ
  38. เสนี : (วิ.) ผู้มีกองทหาร, ผู้มีกองทัพ.
  39. เสยฺยาสน : (นปุ.) ที่นอนและที่นั่ง, ที่นอน ที่นั่ง. ไทยใช้เป็นกิริยาว่า นอน เช่น พระไสยาสน์ คือพระนอน.
  40. โสน : (ปุ.) สุนัข, หมา. โสณ ศัพท์แปลง ณ เป็น น.
  41. โสสน : (วิ.) ผาก, แห้ง, เหี่ยว. ยุปัจ.
  42. หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
  43. หุตาวห, - ตาส, - ตาสน : นป.ไฟ
  44. หุตาสน : (ปุ.) ไฟ. หุต+อสฺ+ยุ ปัจ.
  45. อชฺฌาวสน : (นปุ.) การอยู่, การอยู่ครอบครองการอยู่ปกครอง.ยุปัจ.
  46. อญฺญาตกเวสน : นป. ดู อญฺญาตกเวส
  47. อณีกทสฺสน : (นปุ.) ความเห็นของกองทัพ.
  48. อทสฺสน : (วิ.) ไม่เห็น, หาย, สูญ, หายสูญ, หายไป, เสื่อม, พินาศ.
  49. อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
  50. อธิวาสน : (นปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับพร้อม, การรับนิมนต์, การยับยั้ง, ความยับยั้ง, ความอดทน, ความอดกลั้น.ยุปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-566

(0.0585 sec)