Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ้นเรื่อง, เรื่อง, สิ้น , then รอง, เรื่อง, สน, สนรอง, สิ้น, สิ้นเรื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ้นเรื่อง, 566 found, display 451-500
  1. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  2. คาหาปก : ค. ผู้ให้รับ, ผู้ให้ถือ, ผู้จัดแจง, (เสนาสนคาหาปก = ผู้จัดแจงเสนาสนะ); ผู้รับ
  3. จกฺขุภูต : (วิ.) (พระพุทธเจ้า) ทรงเป็นเพียงดัง จักษุเป็นแล้วเพราะบรรลุพระปรมัตถธรรม วิ. จกฺขุ อิว ภูโต อยํ ปรมตฺถทสฺสนโตติ จกฺขุภูโต เป็นปฐมอุปมานบุพพบทพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  4. จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
  5. จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
  6. จมฺมขณฺฑ : ป. ชิ้นหนัง, ท่อนหนัง, แผ่นหนังสำหรับรองนั่ง
  7. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  8. จล จลน : (วิ.) ไหว, หวั่นไหว, เคลื่อน, เคลื่อน ไหว, สั่น, รัว, กระดิก, โยก, โยกโคลง, โคลง, กลับกลอก. จลฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  9. จลติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, สั่น, คลอนแคลน, กระเพื่อม, พลิ้ว, สะบัด
  10. จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
  11. จิมิลิกา : อิต. ผ้าปูพื้น, ผ้ารองพื้น
  12. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  13. จุมฺพฏ, - ฏก : นป. เทริด, เชิง, เครื่องรองภาชนะ, หมอน
  14. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  15. โจรเชฏฺฐ โจรเชฏฺฐก : (ปุ.) นายโจร (คนที่ เป็นใหญ่ในพวกโจร). เป็น ส. ตัป. โจร – โจก (โจกคือหัวหน้า), โจรผู้เป็นหัวหน้า, โจรผู้เป็นใหญ่. เป็นวิเสสนบุพ. กัม.
  16. ฑสน : นป. ดู ฑํสน
  17. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  18. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  19. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  20. ตมุสฺสนฺนา : (อิต.) คืนเดือนมืด. วิ. ตโม อุสฺ- สนฺโน ยสฺสา สา ตมุสฺสนนา.
  21. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  22. ทณฺฑกา : (อิต.) ด้าม, มีดมีด้าม, เขียงรอง.
  23. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  24. ทสนจฺฉท : (ปุ.) ริมฝีปาก วิ. ทสเน ฉาทยตีติ ทสนจฺฉโท. ทสนปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จฺสํโยโค.
  25. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  26. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  27. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  28. ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
  29. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  30. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  31. ธมฺมปทภาณกมหาติสฺสตฺเถร : (ปุ.) พระ เถระชื่อว่าติสสะผู้ใหญ่ผู้กล่าววึ่งบทแห่งธรรม. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. มี สัม กัม., วิเสสนบุพ. กัม. , ฉ.ตัป. และ ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  32. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  33. นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
  34. นมสฺสนา, นมสฺสา : อิต. ดู นมสฺสน
  35. นมสฺสิยา : อิต. ดู นมสฺสน
  36. นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  37. นิจฺฉาเทติ : ก. เขย่า, สั่น, แกว่งไปมา
  38. นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
  39. ปฏิปาทก : ป. ผู้ให้สำเร็จ, ผู้จัดแจง, ผู้จัดหา; เชิง (เตียง), ที่รอง (เตียง)
  40. ปณฺณธาร : ป. เครื่องรองทำด้วยใบไม้
  41. ปตฺตกณฺโฑลิกา : อิต. หม้อเก็บบาตร, กระชุสำหรับเก็บบาตร, เชิงรองบาตร
  42. ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
  43. ปริปฺลว : ค. สั่น, เอียง, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว, สั่น, โยก, เรรวน, เลื่อนลอย
  44. ปริปฺลวติ : ก. สั่น, ระส่ำระสาย, เร่ร่อนไป, ไหว
  45. ปาฏิโภค : ป. ผู้ประกัน, ผู้รับรอง, การประกัน, การรับรอง
  46. ผนฺทน : (วิ.) ไหว, สั่น, เคลื่อน, เต้นตุบๆ, เขม่น, โยกโคลง. ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ.
  47. ผุนติ, ผุนาติ : ก. สั่น, หวั่นไหว, โคลงเคลง, ฝัด, โปรย, พรม
  48. โผฏ : (วิ.) นูน, บวม, ฟกช้ำ, แตก. ผุฏฺ อนฺนตสํสิเลสนเภทเนสุ, โณ.
  49. พฺยคฆีนส : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. สตฺตานํ หึสนโต พฺยคฺโฆ วิย พฺยคฺฆี, สตฺเตนาเสตีตินโส. พฺยคิฆี เอว นโส พฺยคฺฆีนโส.
  50. พฺยถน : (วิ.) เป็นทุกข์, ลำบาก, รบกวน, สะดุ้ง, กลัว, ไหว, สั่น, รัว, สั่นรัว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-566

(0.0603 sec)