Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จา , then , จะ, จา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จา, 580 found, display 251-300
  1. อุจฺจ : (อัพ. นิบาต) ใหญ่, สูง. สัททนีติ และ รูปฯ ลงในอรรถแห่งสัตมี. อภิฯ ลงใน สัตมีและวิภัติอื่น.
  2. กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
  3. กจฺจ : (ปุ.) คนสวย, คนงาม, คนสวยงาม. กจฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง จ เป็น จฺจ.
  4. กช : (ปุ.) คานหาม. กจฺ พนฺธเน, อ. แปลง จ เป็น ช.
  5. กทลิมิค : (ปุ.) กวาง, ชะมด. กทิ อวฺหาเณ, อโล, อิ. สำเร็จรูป เป็น กทลิ ฎีกาอภิฯ ลง อี เป็น กทลี. กทลิ จ โส มิโค เจติ กทลิ มิโค.
  6. กาญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม, ทีโฆ จ. ส. กาญฺจน.
  7. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  8. เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
  9. โกสิย : (ปุ.) ท้าวโกลีย์ ชื่อของพระอินทร์ชื่อที่ ๑๖ ใน ๒0 ชื่อ, พระอินทร์. วิ. โกสสํขาตานิ ฐานานิ อสฺส อตฺถีติ โกสิโย. โกสิยโคตฺตตาย จ โกสิโย.
  10. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  11. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  12. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  13. ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
  14. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  15. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  16. จงฺกมน : (นปุ.) การเดินไปและ การเดินมา, การเดินไปมา, การก้าวไป และการก้าวมา, การก้าวไปก้าวมา. วิ. กโม จ อากโม จ จงฺกโม. กโม จ อากมนญฺจ จงฺกมนํ. กม+อากม,กม+อากมน. แปลง ก เป็น จ แปลง ม เป็น นิคคหิต ลบ อา แปลง นิคคหิต เป็น งฺ.
  17. จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
  18. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  19. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  20. โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
  21. ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
  22. ชมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชมฺปติ. ลบ ยา รัสสะ อาทีชา เป็น อ สังโยค ม. ส. ชมฺปตี.
  23. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  24. ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
  25. ชายปติก ชายาปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชายปติโก ชายาปติ วา. ศัพท์ ตันรัสสะ อา เป็น อ กสกัด.
  26. ชิตินฺทฺริย : (วิ.) พระชินะ พระชิน พระนาม ของพระพุทธเจ้าพระนาม ๑ ใน ๓๒ พระ นาม, พระพุทธเจ้า (ผู้ชนะ). วิ. ชินาตีติ ชิโน. ปญฺจ มาเร อชินีติ วา ชิโน. ปาปเก อกุสเล ธมฺเม มาราทโย จ อชินีติ วา ชิโน. ชิ ชเย, อิโน. ส. ชิน.
  27. ติช : (นปุ.?) ความอดทน, ความอดกลั้น, ตุชฺ สหเณ อ, อุสฺส อิตฺตํ. ทีโฆ จ.
  28. ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
  29. ตุทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ตุทมฺปติ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ตุทํอาเสโท. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓.
  30. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  31. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  32. ทณฺฑาทณฺฑิ : (นปุ.) การรบนี้ตีด้วยท่อนไม้ และตีด้วยท่อนไม้เป็นไป วิ. ทณฺเฑหิ จ ทณฺเฑหิ จ ปหริตฺวา อิทํ ยุทฺธํ ปวตฺตตีติ ทณฺฑาทณฺฑิ. ทีฆะในท่ามกลาง แปลง อ ที่สุดศัพท์เป็น อิ รูปฯ ๓๔๑.
  33. ทตฺตุ : (วิ.) เขลา, โง่. ทา กุจฺฉิตคมเน, ตุ, ทฺวิตฺตํ, รสฺโส จ.
  34. ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
  35. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  36. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  37. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  38. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  39. นรสีห : (ปุ.) นระผู้ประเสริฐกว่านระทั้งหลาย, นระผู้สูงสุดกว่านระท. วิ. นรานํ สีโห นรสีโห. นระผู้ประเสริฐ, นระผู้สูงสุด. วิ. นโร จ โส สีโห. ส. นรสึห, นรสิงห.
  40. นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
  41. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  42. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  43. ปพนฺธกปฺปนา : (อิต.) ประพันธกถาศาสตร์ ( นิยายที่แต่งขึ้นต่อเนื่องยืดยาว ) วิ. ปพนฺเธเนว จ สวิตฺถาเรน กปฺปนํ ยสฺสา สา ปพนฺธกปฺปนา.
  44. ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
  45. ปุพฺพกตฺติก : (ปุ.) ปุพพกัตติกะ ชื่อเดือนที่ ๑๑ ทางจันทรคติ, เดือน ๑๑. วิ. จึอสฺสยุชมาโส ปุพฺพกตฺติโก, ปุพฺโพ จ โสกตฺติโก เจติ ปุพฺพกตฺติโก
  46. ปุพฺพภทฺทปทา : (อิต.) บุรพภัทรบท ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๕ ใน ๒๗ กลุ่ม, ดาวหัวเนื้อทราย, ดาวราชสีห์ตัวผู้, ดาวเพดาน, ดาวโปฐบท ก็เรียก. วิ. ปุพฺพา จ สาภทฺทปทา เจติ ปุพฺพภทฺทปทา.
  47. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  48. ปูติก : (ปุ.) กระพังโหม, อเนกคุณ, บอระเพ็ด? ปุ ปวเน, อิโก, โตนฺโต จ (ลง ต ที่สุดธาตุ).
  49. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  50. ผาลน : (นปุ.) การผ่า, ฯลฯ, การทำลาย. ผลฺ วิทารเณ, ยุ, ทีโฆ จ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-580

(0.0374 sec)