Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเป็นอิสระ, อิสระ, เป็น, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเป็นอิสระ, 6646 found, display 251-300
  1. กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
  2. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  3. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  4. กนิฏฐตฺต : นป. ความเป็นของเล็กน้อย
  5. กปฺปิยสญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความสำคัญว่าควร
  6. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  7. กมฺมญฺญตา : อิต. กมฺมญฺญภาว ป. ความที่จิตเป็นสภาพควรแก่การงาน, ความพร้อม, ความคล่องแคล่ว
  8. กมฺมเธยฺย : นป. ความเป็นผู้เอาธุระในการงาน; หน้าที่
  9. กมฺมสจฺจ : ค. ซึ่งมีความเที่ยงตรงต่อกรรม, มีกรรมเป็นความจริง
  10. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  11. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  12. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  13. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  14. กมฺมารามตา : อิต. ความพอใจใจการงาน, ความเป็นผู้ยินดีในการงาน
  15. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  16. กมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ฯลฯ. ตาปัจ. ภาวตัท.
  17. กรณตฺถ : ป. อรรถหรือความหมายว่าเป็นเครื่องมือ, กรณอรรถ, อรรถที่ลงในตติยาวิภัตติ
  18. กรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันทำ, ฯลฯ.
  19. กรณียตา : (อิต.) ความเป็นแห่งกิจอัน..พึงทำ, ฯลฯ.
  20. กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
  21. กรุณานุวตฺตี : ค. อันอนุวัตตามกรุณา, เป็นไปตามความเอ็นดู
  22. กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
  23. กลฺยตา : อิต. ความเป็นผู้มีสุขถาพดี, ความเป็นที่น่ายินดี
  24. กลฺยาณก : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...อันงาม. กณฺปัจ. ภาวตัท.
  25. กลฺยาณตา : อิต. ความดี, ความเป็นผู้มีคุณธรรมอันดีงาม
  26. กลฺยาณมิตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีมิตรดี; การคบค้าสมาคมกับคนดี
  27. กลฺยาณสมฺปวงฺกตา : อิต. ความเป็นผู้มีเพื่อนที่ดีงาม
  28. กลห : (ปุ.) วาทะเป็นที่โต้เถียง วิ. กลหนฺติ อสฺมินฺติ กลโห. กลหฺ กุจฺฉเน, อ. วาจา เป็นเครื่องโต้เถียง วิ. กลียติ ปริมียติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. กลฺ สํยฺ ยาเณ, โห. ลง อ ปัจ. ประจำธาตุก่อนแล้วลง ห ปัจ. การ ทะเลาะ, การวิวาท, ความทะเลาะ. ความวิวาท, ความทุ่มเถียง วิ. กลหนํ กลโห. ส. กลห.
  29. กลาปขณฺฑาทิภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งวัตถุมี ชิ้นกระเบื้องเป็นต้น.
  30. กาตุกามตา, กาตุกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่เพื่อทำ, ความประสงค์จะทำ
  31. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  32. กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
  33. กามเหตุ : ค. มีความใคร่เป็นเหตุ
  34. กามาตุล : ค. ผู้ทุรนทุรายเพราะความใคร่เป็นเหตุ, ผู้ป่วยใจ
  35. กามาธิกรณ : ค. ผู้มีความใคร่เป็นเหตุให้เกิดเรื่อง
  36. กามานุสารี : ค. ผู้ระลึกถึงกามเป็นนิตย์, ผู้ใฝ่ใจในความสุขทางกาม
  37. กามาราม : ค. ผู้มีกามเป็นที่มายินดี, ผู้มีความยินดีในกาม
  38. กายกมฺมญฺญตา : อิต. ความคล่องแห่งกาย, ความเป็นของควรแก่การงานแห่งกอง เวทนา, สัญญาและสังขาร
  39. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  40. กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
  41. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  42. กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
  43. กายินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในกาย, ความเป็นใหญ่คือกาย, ความเป็นใหญ่ใน หน้าที่ของตนคือกาย?
  44. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  45. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  46. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  47. กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
  48. กาฬกณฺณี : อิต. ความจัญไร, ความเป็นเสนียด
  49. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  50. กิจฺจยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งหน้าที่, ความเป็นหน้าที่. กิจฺจ+ยฺ และ อ อาคม ตา ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4600 | 4601-4650 | 4651-4700 | 4701-4750 | 4751-4800 | 4801-4850 | 4851-4900 | 4901-4950 | 4951-5000 | 5001-5050 | 5051-5100 | 5101-5150 | 5151-5200 | 5201-5250 | 5251-5300 | 5301-5350 | 5351-5400 | 5401-5450 | 5451-5500 | 5501-5550 | 5551-5600 | 5601-5650 | 5651-5700 | 5701-5750 | 5751-5800 | 5801-5850 | 5851-5900 | 5901-5950 | 5951-6000 | 6001-6050 | 6051-6100 | 6101-6150 | 6151-6200 | 6201-6250 | 6251-6300 | 6301-6350 | 6351-6400 | 6401-6450 | 6451-6500 | 6501-6550 | 6551-6600 | 6601-6646

(0.1426 sec)