องฺคุลิปโตทก : นป. การจี้ด้วยนิ้วมือ
อญฺญตรโต : (อัพ. นิบาต) แต่....อันใดอันหนึ่งโดย.....อันใดอันหนึ่ง.
อญฺญโต : (อัพ. นิบาต) แต่.....อื่น, โดย....อื่นโดยทางอื่น, โดยประการอื่น.
อติปาโต : อ. เช้าตรู่, แต่เช้า
อธรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เบื้องต่ำ.
อนฺโต : (อัพ. นิบาต) ในภายใน, ภายใน, ระหว่าง.
อนฺโตกุจฺฉิ : ป. อิต. ภายในท้อง
อนฺโตคาม : ป. หมู่บ้านชั้นใน, ภายในบ้าน
อนฺโตชน : (ปุ.) ชนภายใน, ชนภายในแห่งเรือน
อนฺโตชาล : นป. ภายในข่าย
อนฺโตชาลิกต : ค. ถูกตะล่อมเข้าในข่าย, อยู่ในข่าย
อนฺโตทกนาวา : (อิต.) เรือดำน้ำ.
อนฺโตนิชฺฌาน : นป. การเผาผลาญภายใน
อนฺโตปูติ : (วิ.) เน่าภายใน, เน่าใน.
อนฺโตวิหาร : ป. ภายในวิหาร
อปรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างอื่นอีก.
อปริโต : ค. แนบชิด, ถี่
อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
อภิโตเสติ, - สยติ : ก. ยินดียิ่ง, พอใจ
อมุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...โน้น, แต่โน้น.
อาทิโต : ก. วิ. ตั้งแต่ต้น, ตั้งแต่แรก
อิตรโต : (อัพ. นิบาต) แต่นอกนี้.
อุตฺตรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างเหนือ.
อุภโต : (อัพ. นิบาต) สองข้าง, สองฝ่าย, สองอย่าง.
อุภโตสงฺฆ : ป. สงฆ์สองฝ่าย คือ ภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์
เอกโต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, โดยส่วน- เดียวกัน, โดยความเป็นอันเดียวกัน, โดย ข้างเดียว, ข้างเดียว, รวมกัน, ร่วมกัน.
เอตฺตโต : ก. วิ. จากที่นี้, จากนี้ไป
เอตโต : (อัพ. นิบาต) ข้างนั่น, ข้างนั้น.
เอตฺโต : ก. วิ. จากนี้, ตั้งแต่นี้ไป
โอรโต : (อัพ. นิบาต) ต่ำกว่า.
กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
กุฏฺฐ : (นปุ.) โกฐ ชื่อเครื่องยาจำพวกหนึ่งมี หลายชนิด วิ. กุยํ ปฐวิยํ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐํ. กุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ. กุฏฺ เฉทเน วา, โฐ, โต วา. ถ้าลง ต ปัจ. ก็แปลง ต เป็น ฐ.
จิตก : (ปุ.) เชิงตะกอน ( ฐานสำหรับเผาศพ ) วิ. จิยฺยเต ยตฺถ โส จิตโก. จิ จเย, โต สตฺเถ โก. เป็น จิตกา ( อิต.) ก็มี.
มถิต : (วิ.) คน, กวน, ระคน, เขย่า, ให้ปั่นป่วน. มถฺ วิโลลเน, โต อิอาคโม.
โมกฺข : (วิ.) เป็นหัวหน้า, เป็นประธาน, ประเสริฐ, สูงสุด. วิ. หีนมชฺฌิมภาเวหิ มุจฺจตีติ โมกฺโข (พ้นจากภาวะเลวและภาวะปานกลาง). มุจฺ โมจเน, โต ตสฺส โข, จสฺส โก จ.
ยิฏฺฐ : (นปุ.) การบูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, โต แปลง ต เป็น ฏฺฐ แปลง อ ที่ ย เป็น อิ ลบที่สุดธาตุ.
ยุตฺต ยุตฺตก : (วิ.) ประกอบ, ควร, สมควร, ชอบ, ถูก, ถูกต้อง. ยุชฺ โยเค, โต ทฺวิตฺตํ, ชโลโป.
อีริต : (วิ.) ขว้าง. ซัด, โยน, พรุ่ง, ยิง, ไหว, เคลื่อนไหว, สั่น. อีรฺ คติกมฺปนเขเปสุ อิโต, โต วา.
กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
กนฺตา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (นามนาม มิใช่ วิเสสนะ), นาง, ภรรยา?, กานดา (หญิงที่ รัก). กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ อาอิต.
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
กุทฺธ : (ปุ.) ความโกรธ, ความเคือง. กุธฺ โกเป, โต.
กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
โกฏฺฐ : (วิ.) เต็ม, อัน...ให้เต็ม กุสฺ ปูรเณ, โต.
ขฺยาต : (วิ.) ปรากฏ, รู้, ชำนาญ, เฉียบแหลม, เฉลียวฉลาด, มีชื่อเสียง ขฺยา ปกาสเน, โต.
ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.