Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โต, 711 found, display 401-450
  1. ชคู : (ปุ.) สัตว์ผู้ถึงความเกิด (จากตาย) วิ. จุติโต ชาตึ คจฉตีติ ชคู. ชาตปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู. ลบ ติ เหลือ ชา รัสสะ และลบ ที่สุดธาตุ.
  2. ชจฺจนฺธกิจ : (วิ.) ประกอบในความบอดแต่ กำเนิด, ประกอบด้วยความบอดโดยกำเนิด วิ. ชจฺจนฺเธ ชจฺจนฺเธน วา นิยุตฺโต ชจฺจนฺชกิโย. กิย ปัจ.
  3. ชฐรามย : (ปุ.) โรคท้องมาน ชื่อโรคที่ทำให้ ท้องพองโต มีหลายชนิด ชฐ + อามย รฺ อาคม.
  4. ชนฺตา : (อิต.) เรือนไฟ วิ. ชลติ เอตฺถาติ ชนฺตา. ชลฺ ทิตฺติยํ, อนฺโต, ลฺโลโป.
  5. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  6. ชมฺพุทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
  7. ชมฺภ ชมฺภีร ชมฺภุล : (ปุ.) มะนาว, ต้นมะนาว, ส้ม, ต้นส้ม. ชมุ อทเน, ภนฺโต (ลง ภ อักษรที่สุดธาตุ), อ, อีโร, อุโล. ชมฺภฺ คตฺตวิมาเน. ส. ชมฺพีร ชมฺภีร แปลว่า มะกรูดด้วย.
  8. ชลช : (วิ.) เกิดในน้ำ วิ . ชเล ชาโต ชลโช. กฺวิปัจ. หรือว่าเป็น ส.ตัป. ก็ได้ รูปฯ ๕๗๐ ส. ชลช.
  9. ชาตสร ชาตสฺสร : (ปุ.) สระอันเกิดแล้ว วิ. ชาตํ อปจฺจํ เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา. ชาโต วา ปุตฺโต เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา.
  10. ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
  11. ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
  12. ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
  13. ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
  14. ชิฆจฺฉิต : (วิ.) ผู้มีความปรารถนาเพื่ออันกิน เกิดแล้ว วิ. ชิฆจฺฉา สญฺชาตา ยสฺส โส ชิฆจฺฉิโต ชิฆจฺฉา ศัพท์ ต ปัจ. อิ อาคม.
  15. ชิณฺณ ชิณฺณก : (วิ.) แก่, เก่า, คร่ำคร่า, ทรุด โทรม. ชรฺ วโยหานิมฺหิ โต, อิณฺณาเทโส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  16. เชฏฺฐ : (ปุ.) เดือนเจ็ด วิ. เชฏฺฐาย ปุณฺณจนฺท – ยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส เชฏฺโฐ. ณ ปัจ. ส. ชฺยษฺฐ, ชฺยษฐ.
  17. เชฏฐภาตุชายา : (อิต.) ภรรยาของพี่ชายคนหัว ปี, ภรรยาของพี่ชายคนโต, พี่สะใภ้ใหญ่, พี่สะใภ้.
  18. ญาต : (วิ.) ผู้รู้ วิ. ชานาตีติ ญาโต. อันเขารู้ วิ. ญาตพฺพนฺติ ญาตํ ญาธาตุ ต ปัจ.
  19. ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  20. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  21. ตจสาร : (ปุ.) ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น, ต้นไม้ มีเปลือกแข็ง, ต้นไผ่, ไม้ไผ่. วิ. ตโจ ว ตจโต อุพฺภวา สญฺชาตา จตุพฺภวา.
  22. ตณฺฑุเลยฺย : (ปุ.) กระเพรา, มะพลับ. วิ. ตมียติ วิการ มาปาทียตีติ ตณฺฑุโล. ตณฺฑุลโต ชายตีติ ตณฺฑุเลยฺโย. เณยฺย ปัจ. เป็น ตณฺฑุลิย บ้าง.
  23. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  24. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  25. ตนุกต : (วิ.) ถาก, ทำให้บาง, วิ. ตนุ กรียเตติ ตนุกโต.
  26. ตนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน. ลูก, ลูกชาย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนุโช. ตนุ+ชนฺ+กฺวิ ปัจ.
  27. ตรงฺค : (ปุ.) ระลอกคลื่น ลูกคลื่น (กลิ้งไป). วิ. ตรนฺโต คจฺฉตีติ ตรงฺโค. ตีรํ คจฺฉตีติ วา ตรงฺโค. ตีร+คมฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อี เป็น อ.
  28. ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
  29. ตาลจฺฉิคฺคฬ ตาฬจฺฉิคฺคฬ : (ปุ.) ช่องกุญแจ, ช่องดาล, ช่องดาฬ. วิ. ตาลสฺส ตาฬสฺส วา ปเวสนฏฺฐานภูโต ฉิคฺคโฬ ตาลจฺฉิคฺคโฬ ตาฬจฺฉิคฺคโฬ วา.
  30. ตาลี ตาฬี : (อิต.) ต้นลาน. วิ. สณฺฐานโต ตาลสทิสตฺตา ตาลี ตาฬี อา อี ปัจ. ลงใน อรรถอุปมา หรือตั้ง ตฬฺ อาฆาเต, โณ, อตฺถิยํ อี. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  31. ติโคจร : (วิ.) อันเป็นวิสัยของครสามคน วิ. ติณฺณํ ชนานํ โคจรภูโต ติโคจโร.
  32. ตินฺทุก : (ปุ.) มะพลับ. ตนุ วิตฺถาเร, อุโก, ทนฺโต ( ลง ทฺ ที่สุดธาตุ ). ติทิ หึสายํ วา, อุ, สญฺญายํ โก.
  33. ติรจฺฉานคต : (ปุ.) สัตว์ดิรัจฉาน วิ. ติรจฺฉาโน เอว ติรจฺฉานคโต. คต สกัด.
  34. ติรีฏก : (นปุ.) เปลือกไม้. ตรฺ ตรเณ, อีโต, สกตฺเถ โก ตสฺส โฏ, อสฺสิ.
  35. ติสฺส : (ปุ.) ติสสะ ชื่อคน ชื่อพระเถระ. วิ. ตุสฺสนฺตฺยสฺมึ อญฺถสิทธโตติ ติสฺโส. ตุสฺ ตุฏฐยํ. โส, อุสฺส อิตฺตํ.
  36. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  37. ตุรุกฺข : (ปุ.) มดยอบ, กำยาน, วิ. ตุรโต ชาโต ตุรุกฺโข. ตรุ ศัพท์ ข ปัจ. แปลง อ ที่ ต เป็น อุ ซ้อน ก.
  38. ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
  39. ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  40. ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
  41. เตน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุนั้น, เพราะเหตุนั้น. การณตฺเถ นิปาโต.
  42. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  43. ถลช : (วิ.) เกิดในที่ดอน วิ. ถเล ชาโต ถลโช.
  44. ถุลฺลผุสิตก : ค. ซึ่งมีหยดใหญ่, (ฝน) มีเม็ดโต
  45. ถุลฺลสรีร : ค. ผู้มีร่างกายใหญ่โต, ผู้มีกายอ้วน
  46. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  47. ทธิมณฺฑ : (นปุ.) เนยเหลว, เนยใส. วิ. ทธิโต มณฺฑํ สาโร ทธิมณฺฑํ.
  48. ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
  49. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  50. ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-711

(0.0465 sec)