Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เครื่อง , then ครอง, เครื่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เครื่อง, 722 found, display 101-150
  1. คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
  2. คพฺภปริสฺสว : ป. รก (เครื่องสำหรับหล่อเลี้ยงเด็กในครรภ์)
  3. คพฺภมล : นป. มลทินแห่งครรภ์, รก (เครื่องสำหรับหล่อเลี้ยงเด็กในครรภ์แนบอยู่กับมดลูกมีสายล่ามมาที่สะดือเด็ก)
  4. คมิกปริพฺพยวตฺถุ : (นปุ.) เครื่องเสบียงของคน เดินทาง, เครื่องเสบียงเดินทาง.
  5. คล : (ปุ.) คอ, ลำคอ (เครื่องกลืนกิน) วิ. คลนฺติ อเนนาติ คโล. คลฺ อทเน, อ. คิลติ อเนนาติ วา คโล. คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อ, อิสฺส อตฺตํ.
  6. คฬุล : (ปุ.) เครื่องผูกสุนัข, บ่วงผูกสุนัข, โซ่ ผูกสุนัข. คฬฺ รกฺขเณ, อุโล.
  7. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  8. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  9. คิงฺคมก : นป. เครื่องประดับไหล่
  10. คิลานปจฺจย : ป. ปัจจัยสำหรับผู้ป่วย, เครื่องบำบัดไข้
  11. คิลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร คือ ยาอันเป็นปัจจัยแก่ภิกษุไข้, บริขารคือ ยาอันเป็นปัจจัยแก่คนไข้, เครื่องยารักษา คนไข้.
  12. คิหิสโยชน : นป. (กิเลส) เครื่องหน่วงเหนี่ยวของคฤหัสถ์, เครื่องผูกพันของคฤหัสถ์
  13. คีวา : (อิต.) หนี้, สินไหม, สินใช้ (เป็นเหมือน เครื่องผูกคอไว้), คอ. วิ. คายติ เอตายาติ คีวา. คา สทฺเท, อีโว.
  14. คีวาภรณ : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, สายสร้อย, สายสร้อยคอ.
  15. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  16. คีเวยฺย, - ยก : นป. เครื่องประดับคอ
  17. คึคมก คิงฺคมก : (นปุ.) เครื่องประดับไหล่, อินทรธนู (อิน ธะนู). คมฺ คติยํ, ณฺวุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺสิตฺต, นิคฺคหิตาคโม.
  18. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  19. ฆนปุปฺผ : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีรูปดอก ไม้ติดกัน วิ. ฆนํ สนฺธิภูตํ ปุปฺผ เมตสฺสา- ติ ฆนปุปฺผํ.
  20. ฆรพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกคือเรือน, วัตถุ เป็นเครื่องผูกคือเรือน. วิ. ฆรํ เอว พนฺธนํ ฆรพนฺธนํ.
  21. ฆาส : (ปุ.) การกิน, หญ้า, สวน, ไร่, ไร่หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, เครื่องบริโภค, อาหาร, ข้าว. ฆสฺ อทเน, โณ.
  22. ฆาสจฺฉาทน : นป. อาหารและเครื่องนุ่งห่ม
  23. ฆาสจฺฉาทนาทิ : (วิ.) มีข้าวอันบุคคลพึงกินและ ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเป็นต้น.
  24. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  25. จตุโรปธิ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องยังทุกข์ให้เข้า ไปตั้งไว้สี่, อุปธิสี่. อุปธิ ๔ คือ ขันธ์ กาม กิเลส และกรรม.
  26. จนฺทนวิเลปน : นป. เครื่องลูบไล้ที่ทำด้วยไม้จันทน์
  27. จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
  28. จมรวีชนี : อิต. พัดทำด้วยขนหางจามรี (เป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างหนึ่ง)
  29. จรญฺญ : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นเครื่องบรรลุ (วิชชา), จรณ ศัพท์ ณฺย ปัจ.
  30. จรุ : (ปุ.) การหุงข้าวสังเวยเทวดา, ภาชนะ เครื่องเซ่นสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. วิ. จรียติ อิกฺขียตีติ จรุ. จรฺธาตุ อุ ปัจ.
  31. จามร : (นปุ.) พัดทำด้วยขนทราย, จามรชื่อ เครื่องสูงชนิดหนึ่ง สำหรับขบวนพระราช ยาน.
  32. จามีกร : (นปุ.) จามีกรชื่อทองอย่าง ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, เครื่องทอง.
  33. จาลนี : อิต. เครื่องกรอง (ยา), ตะแกรงร่อนยา
  34. จิงฺคุลิก : นป. กังหัน (สำหรับเล่น), เครื่องเล่นชนิหนึ่งทำด้วยใบตาลเป็นต้นซึ่งหมุนด้วยแรงลม
  35. จิตฺตกา : (อิต.) เครื่องลาดขนสัตว์มีรูปอันวิจิตร ด้วยการปัก,เครื่องลาดขนสัตว์ปักรูปวิจิตร. วิ จิตฺตรูปํ อสฺส อตฺถีติ จิตฺตกา. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  36. จิตฺตคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางจิต.
  37. จิตฺตตฺถรก : นป. เครื่องลาดอันวิจิตร, พรมมีลวดลายสวยงาม
  38. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  39. จุณฺณจาลนี, จุณฺณกจาลนี : อิต. เครื่องกรองยาผง, ตะแกรงร่อนยาผง
  40. จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
  41. จุนฺทภณฺฑ : (นปุ.) เครื่องกลึง.
  42. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  43. จุมฺพฏ, - ฏก : นป. เทริด, เชิง, เครื่องรองภาชนะ, หมอน
  44. จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
  45. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  46. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  47. ฉทฺทน : (นปุ.) เครื่องมุงหลังคา, หลังคา. ยุ ปัจ.
  48. ฉทน : (นปุ.) การปิด, การบัง, ที่เป็นที่มุง, เครื่องมุง, หลังคา, ใบ, ใบไม้. ยุ ปัจ. ฉทส (ไตรลิงค์) หกและสิบ, สิบยิ่งด้วยหก, สิบหก.
  49. ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
  50. ฉาทิย : นป. เครื่องมุง, เครื่องบัง, เครื่องปกปิด
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-722

(0.0382 sec)