Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งเค้า, เค้า, ตั้ง , then คา, เค้า, ตง, ตงคา, ตั้ง, ตั้งเค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งเค้า, 723 found, display 151-200
  1. ทท : (ปุ.) การให้, บุคคลผู้ให้. ทา ทาเน, อ. เท๎วภาวะ ทา รัสสะ อา ทั้งสอง หรือตั้ง ทท.
  2. ทฺวารภตฺต : นป. ภัตที่ประตูเรือน, ภัตซึ่งตั้งไว้ที่ประตูเรือนเพื่อบริจาคทาน
  3. ทหติ : ก. ยอมรับ, ถือ, ตั้งไว้, วาง, กำหนด; เผา, ไหม้
  4. ทาย : (ปุ.) ป่า, หมู่ไม้, กอหญ้า, ทา อวขณฺฑนเฉทเนสุ. ทยฺ ทานคติหึสาสุ วา, โณ. แปลง อา เป็น อาย ถ้าตั้ง ทยฺ ธาตุ ก็ฑีฆะ.
  5. ทิฏฺฐิฏฺฐาน : นป. ฐานเป็นที่ตั้งแห่งทิฐิ
  6. ทิปิ ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง, เสือดาว, ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิ. ศัพท์หลังฑีฆะต้นธาตุ ถ้าตั้ง ทีปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องทีฆะ.
  7. ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
  8. ทุกฺขสมุทย : (ปุ.) ความตั้งขึ้นพร้อมแห่งทุกข์, ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขสมุทัย ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒.
  9. ทุกฺขูปธาน : นป. การเข้าไปตั้งไว้ซึ่งความทุกข์, การก่อทุกข์
  10. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  11. ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
  12. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  13. เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
  14. โทมนสฺสุปวิจาร : ป. การไตร่ตรองถึงอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส, การใคร่ครวญถึงอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ใจ
  15. โทสนิย, - นีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ, ซึ่งก่อให้เกิดความขัดเคือง
  16. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  17. โทหฬายติ : ก. แพ้ท้อง, อยากอย่างแรง (สำหรับหญิงตั้งครรภ์)
  18. ธมฺมฎฐ : (วิ.) ผู้ตั้งซึ่งธรรม, ผู้ดำรงอยู่ใน ธรรม. วิ. ธมฺเม ติฎฺฐตีติ ธมฺมฎโฐ. ธมฺม+ ฐา+อปัจ.
  19. ธมฺมฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในธรรม, ฯลฯ.
  20. ธมฺมฏฺฐ : ค. ผู้ตั้งอยู่ในธรรม, ผู้เที่ยงธรรม
  21. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  22. ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
  23. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  24. ธมฺมปติฎจิต : (วิ.) ผู้ตั้งแล้วในธรรม, ผู้ ดำรงอยู่ในธรรม.
  25. ธมฺมปีฐ : (นปุ.) ตั่งอันบุคคลตั้งไว้เพื่อรักษา ธรรม, ที่นั่งอันบุคคลตั้งไว้สำหรับแสดง ธรรม, ธรรมาสน์.
  26. ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
  27. ธมฺมาธิฎฺฐ : (วิ.) มีธรรมเป็นที่ตั้ง.
  28. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  29. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  30. ธาตุ : (วิ.) ผู้ทรงไว้. ธา ธารเณ, ดุ. ผู้ตั้งไว้, ผู้ดำรงอยู่. ฐา คตินิวุตฺติยํ, ตุ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  31. ธารก : (ปุ.) การทรง, ฯลฯ, ความทรง, ฯลฯ, ความทนทานได้, เชิง (ตีนซึ่งเป็นฐานที่ ตั้งของ). ธาร+ก สกัด.
  32. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  33. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  34. เธยฺย : (วิ.) ตั้ง, เนื่อง.
  35. นกฺก : (ปุ.) จระเข้ วิ. น กมตีติ นกฺโก. นปุพโพ กมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบที่สุดธาตุ ซ้อน กฺ คง น ไว้ไม่แปลง หรือตั้ง นกฺกฺ นาสเน, อ. ส. นกฺร.
  36. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  37. นนฺทิสมุทยน : นป. ความก่อตั้งขึ้นแห่งความยินดี, เหตุให้เกิดความเพลิน
  38. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  39. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  40. นามกมฺม : นป. การตั้งชื่อ, การให้ชื่อ
  41. นามเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออันบุคคลพึงทรงไว้, การตั้งชื่อ, การทรงชื่อ, ชื่อ, นามไธย (ตั้งชื่อ). ส. นามเธย.
  42. นามเธยฺย, นามเธย : ๑. นป. การตั้งชื่อ, ๒. ค. มีชื่อ
  43. นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
  44. นิกฺขิตฺต : ๑. กิต. เก็บไว้แล้ว, วางไว้แล้ว, ๒. ค. ผู้ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่รับผิดชอบ, ผู้ได้รับแต่งตั้งให้รับผิดชอบ
  45. นิกฺขิปน : (นปุ.) การฝัง, การฝังไว้, การเก็บไว้, การตั้งลง, การตั้งไว้. นิปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, ยุ, โณ.
  46. นิกฺเขป : (ปุ.) การฝัง, การฝังไว้, การเก็บไว้, การตั้งลง, การตั้งไว้. นิปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, ยุ, โณ.
  47. นิกฺเขปปท : (นปุ.) บทตั้ง, นิเขปบท (หัว เรื่อง ความย่อ).
  48. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  49. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  50. นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0738 sec)