Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งเค้า, เค้า, ตั้ง , then คา, เค้า, ตง, ตงคา, ตั้ง, ตั้งเค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งเค้า, 723 found, display 301-350
  1. วิญฺญาณฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่ของวิญญาณ
  2. วิหิต : กิต. ตั้งไว้แล้ว, จัดแจงแล้ว
  3. วุฏฺฐหติ : ก. ตั้งขึ้น, ลุกขึ้น
  4. สจฺจกิริยา : อิต. การตั้งความสัตย์, การอธิษฐาน
  5. สญฺญต : ค. ซึ่งร้องเรียกกัน, ตั้งชื่อ
  6. สณฺฐปน : นป. การจัดให้เข้ารูป, การตั้งขึ้น
  7. สณฺฐเปติ : ก. จัดระเบียบ, ให้ตั้งขึ้น
  8. สณฺฐาติ : ก. ตั้งอยู่
  9. สณฺฐิต : กิต. ตั้งไว้แล้ว
  10. สณฺฐิติ : อิต. ความตั้งมั่น, ความมั่นคง
  11. สติปฏฺฐาน : นป. การตั้งสติ
  12. สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
  13. สนฺนิกฺเขป : (ปุ.) การตั้งไว้, การวางไว้, สํ นิ ปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, โณ.
  14. สนฺนิเวส : (ปุ.) การตั้งลง, การตระเตรียม, การเข้าไป, การเข้าไปอยู่, ทรวดทรง, สัณฐาน, สํ นิ ปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, โณ.
  15. สนฺนิสิต : กิต. อาศัยแล้ว, ตั้งมั่นแล้ว
  16. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  17. สมฺมปฺปธานวิริย : (นปุ.) ความเพียรอัน...ตั้งไว้โดยชอบ, ฯลฯ.
  18. สมฺมาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตชอบ, ความตั้งใจมั่นชอบ, ความตั้งใจไว้ชอบ, ความตั้งใจชอบ.
  19. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  20. สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
  21. สมาธาน : (นปุ.) การตั้งไว้เสมอกัน, การตั้งไว้โดยชอบ. วิ. สมํ สมฺมา วา อาธานํ สมาธานํ.
  22. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  23. สมาหิต : กิต. ตั้งมั่นแล้ว
  24. สมุฏฺฐหติ : ก. ตั้งขึ้น, ลุกขึ้น
  25. สมุฏฺฐาน : นป. การตั้งขึ้น, เหตุที่เกิด
  26. สมุฏฺฐิต : กิต. ตั้งขึ้นแล้ว
  27. สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
  28. สมุทิต : ป. ตั้งขึ้นแล้ว
  29. สมุนฺนทฺธ : (วิ.) ตั้งไว้เป็นกอง ๆ, บังเกิดเป็นกอง ๆ กัน. สํ อุป วิ ปุพฺโพ, อูหฺ ฐปเน, โต. แปลงนิคคหิต เป็น ม อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ ยฺ อาคม แปลง ตฺ เป็น พฺห ลบที่สุดธาติ.
  30. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  31. สาราณิย : (วิ.) อัน...พึงระลึก, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก.
  32. สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
  33. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  34. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  35. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  36. สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
  37. สีปฏฺฐ : ค. ตั้งอยู่บนเขตแดน
  38. สุฏฐสมาหิต : (วิ.) ตั้งมั่นแล้วด้วยดี, มีจิตตั้งมั่นแล้วด้วยดี.
  39. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  40. สุปฺปติฏฺฐิต : ค. ตั้งไว้ดีแล้ว
  41. สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
  42. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  43. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  44. เสตุ : (ปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. สิโนติ ผลนฺติ เสตุ. สิ พนฺธเน, ตุ. สิโนติ ผลํ เอตสฺมาติ เสติ. สิ ปวตฺตเน, ตุ.
  45. โสตาวธาน : (นปุ.) การเงี่ยโสตลง, ความตั้งโสตลง คือการตั้งใจฟัง. โสต+อว+ธาธาตุ ยุ ปัจ.
  46. หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
  47. หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
  48. หิมวนิต : (ปุ.) เขาหิมพานต์. ป่าหิมพานต์ ชื่อภูเขาปกคลุมด้วยหิมะ ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศอินเดีย. หิมพาน หิมวันต์ หิมวัต ก็เรียก.
  49. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  50. อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0824 sec)