Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งเค้า, เค้า, ตั้ง , then คา, เค้า, ตง, ตงคา, ตั้ง, ตั้งเค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งเค้า, 723 found, display 351-400
  1. อคฺฆาปนกอคฺฆาปนิก : (ปุ.) คนตั้งราคา, คนตีราคา, คนว่าราคา.
  2. อคฺฆาปนก อคฺฆาปนิก : (ปุ.) คนตั้งราคา, คนตีราคา, คนว่าราคา.
  3. อฏฺฐ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, นปุพฺโพ.ฐา คตินิวุตติยํ, อ, ฏฺสํโยโค.
  4. อฏฺฐงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตกไปแล้ว.ส.อศฺตมฺคต.
  5. อฏฺฐงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตก ไปแล้ว. ส. อศฺตมฺคต.
  6. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  7. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  8. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  9. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  10. อฏฺฐิต : ค. ๑. ไม่ตั้งมั่น ( น+ฐา+ต ) ; ๒. เข้าถึง, ตั้งใจ ( อา+ฐา+ต )
  11. อฑฺฒจนฺท : (ปุ.) พระจันทร์ซีก, พระจันทร์ครึ่งซีก, อัฒจันทร์ชิ่อสิ่งที่มีรูปครึ่งวงกลมชื่อชั้นที่ตั้งของขายหรือก้าวขึ้นลง.
  12. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  13. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  14. อตฺถ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม, สูญ, หาย, ฉิบหายพินาศ. นปุพฺโพ, ถา คตินิวตฺถิยํ, อ, ตฺสํโยโค.
  15. อตฺถคมน อตฺถงฺคมน : (นปุ.) การถึงอันซึ่งตั้งอยู่ไม่ได้, ฯลฯ.
  16. อตฺถคม อตฺถงฺคม : (ปุ.) การถึงอันซึ่งตั้งอยู่ไม่ได้, ฯลฯ.
  17. อตฺถงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตกดิน(พระอาทิตย์ตกดิน).
  18. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  19. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  20. อธิฏฺฐหติ : ก. ตั้งมั่น, อธิษฐาน, ตั้งใจ
  21. อธิฏฺฐาติ : ก. ตั้งมั่น, อธิษฐาน, ตั้งใจ
  22. อธิฏฺฐิต : กิต. ตั้งมั่นแล้ว, อธิษฐานแล้ว
  23. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  24. อนตฺถงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, อัษฎงคตแล้ว, อัสดงคตแล้ว.
  25. อนฺตนฺต : (วิ.) อันตั้งอยู่ปลายแดน.
  26. อนฺตรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การตั้ง-อยู่ในที่อื่น, การหายไป, การสูญ, การสูญหายไป (หายลับไ), ความสูญ, ความสูญหายไป, อนฺตรหรืออนฺตรํบทหน้าธาธาตุ ยุปัจ.ถ้าใช้อนฺตรํเป็นบทหน้าลบนิคคหิต.
  27. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  28. อนพฺภุณฺณตตา : อิต. ความเป็นของไม่ตั้งขึ้น
  29. อนวฏฺฐิต : ค. ซึ่งไม่ตั้งมั่น, ซึ่งไม่มั่นคง
  30. อนิฏฺฐงฺคต : ค. ไม่ถึงความตั้งอยู่ได้
  31. อนิเวสน : (วิ.) ผู้ไม่มีเรือนเป็นที่ตั้ง, ผู้ไม่ติดที่อยู่.
  32. อนุติฏฺฐติ, อนุติฏฺฐหติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู ตั้งขึ้น, ตกลง
  33. อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
  34. อนุปฏฺฐิต : ค. (สติ) ไม่ตั้งมั่น, ไม่ปรากฏขึ้น, ติดตาม, จู่โจม
  35. อนุสนฺทหติ : ก. ๑. ตั้งไว้; ๒. ประกอบ; ๓. ประยุกต์
  36. อปฏฺฐเปติ : ก. ไม่ให้ตั้งอยู่, เพิกเฉย
  37. อปฺปณิหิตวิโมกฺข : ป. ความพ้นเพราะไม่มีกิเลสเป็นที่ตั้ง, อัปปณิหิตวิโมกข์
  38. อปฺปติฏฺฐ : ค. ๑. ไม่ตั้งอยู่แล้ว; ๒. ไม่มีที่พึ่ง
  39. อปราธ : (ปุ.) การละเมิด, ความละเมิด, อาชญากรรม.อปปุพฺโพ, รธฺหึสายํ, โณ. อภิฯตั้งราธฺสิทฺธิยํ, อ.วิ.อปคโตราโธเยนโสอปราโธ.ส. อปราธ.
  40. อปริหานิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม.
  41. อพฺภตฺถ : นป. อพฺภตฺถตา, อิต. ความฉิบหาย, ความตั้งอยู่ไม่ได้
  42. อพฺภุทาหรติ : ก. นำมา, รับมา; ตั้งต้น; แนะนำ, ยกมาเป็นตัวอย่าง
  43. อพฺภูต : ป. ๑. ความอัศจรรย์ ; ๒. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน
  44. อภิธานอภิเธยฺย : (นปุ.) การตั้งเฉพาะ, อภิปุพฺโพ, ธาธารเณ, ยุ.โณฺย.
  45. อภิธาน อภิเธยฺย : (นปุ.) การตั้งเฉพาะ, อภิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. โณฺย.
  46. อภิธาเรติ : ก. ทรงไว้, ตั้งไว้, เทิน, รับไว้
  47. อภินิโรเปติ : ก. ปลูกฝัง, ตั้งไว้
  48. อภินิวิฏฺฐ : ค. ตั้งมั่น, ยึดมั่น
  49. อภิโรปิต : กิต. ปลูก, เพาะ, ชำแล้ว; ทำใจให้ตั้งมั่นแล้ว
  50. อภิสิญฺจน : นป. การอภิเษก, การประพรม, การถวายน้ำศักดิ์สิทธิ์ให้เป็นพระราชา, การแต่งตั้ง, การบรรลุ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0791 sec)