Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งเค้า, เค้า, ตั้ง , then คา, เค้า, ตง, ตงคา, ตั้ง, ตั้งเค้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งเค้า, 723 found, display 501-550
  1. คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
  2. คาหี : (วิ.) ผู้จับ,ฯลฯ. ณี ปัจ.
  3. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  4. โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
  5. จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
  6. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  7. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  8. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  9. ธมฺมภณฺฑาคาริก : (ปุ.) ภิกษุผู้รักษาซึ่งเรือน แห่งภัณฑะคือธรรม, ธรรมภัณฑะคาริกะ ชื่อของพระอานนท์, พระอานนท์.
  10. นินฺนคา : (อิต.) แม่น้ำ วิ. นินฺนํ ฐานํ คจฉตีติ นินฺนคา. นินฺนปุพฺโพ, คมุ คติยํ สปฺปคติยํ วา, กฺวิ.
  11. ปฏิคฺคาหก : ค., ป. ผู้รับ, ผู้ยอมรับ, ผู้ถือเอา; ปฏิคาหก
  12. ปตฺตคาหาปก : ป. ภิกษุผู้เป็นปัตตคาหาปกะ, ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกบาตร
  13. มิคารมาตุ : (อิต.) มิคารมารดา ชื่ออุบาสิกา.
  14. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  15. อนฺท : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  16. อนฺทุ อนฺทุกา : (อิต.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
  17. อปคา : (อิต.) แม่น้ำ, ลำน้ำ (ทางน้ำที่ใหญ่ยาว)ส. อปคา.
  18. อากาสคงฺคา : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ, แม่น้ำในอากาศ. วิ.อากาเสสนฺทมานาคงฺคาอากาสคงฺคา.
  19. อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นยเป็นอาคาริยบ้าง.
  20. อาปคา : (อิต.) แม่น้ำ.อาปํสมุทฺทํคจฺฉตีติอาปคา.อาปุพฺโพ, คมฺสปฺปคติมฺหิ.กฺวิ.ส.อาปคา.
  21. เอกาคาริก : (ปุ.) โจร, ขโมย. วิ. เอกํ อสหายํ อคารํ, ตํปโยชนํ เอกาคาริโก. อิก ปัจ.
  22. กรคฺคาหกาลย : (ปุ.) ที่ทำการศุลกากร.
  23. การาคาราธิปติ : (ปุ.) อธิบดีกรมราชทัณฑ์.
  24. กูฏาคารกุจฺฉิปฺปมาณ : (วิ.) มีท้องแห่งเรือนยอด เป็นประมาณ.
  25. กูฏาคารสต : (นปุ.) ร้อยแห่งเรือนอันประกอบ แล้วด้วยยอด, ร้อยแห่งเรือนยอด.
  26. โกฏฐาคาริก : ป. เจ้าหน้าที่รักษาคลัง, คนรักษาโกดัง
  27. ขคฺคคาหก : ป. ผู้ถือดาบ, ผู้ถือพระขรรค์, ผู้ถือกระบี่
  28. ขคาทิพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกมีเครื่องผูกแห่ง นกเป็นต้น.
  29. ขคาทิพีช : (นปุ.) ฟองแห่งสัตว์มีนกเป็นต้น.
  30. คงฺคาตีร : นป. ฝั่งแม่น้ำ
  31. คงฺคาธาร : (ปุ.) มหาสมุทร, ทะเลหลวง, พระ ศิวะ.
  32. คงฺคาปาร : นป. ฝั่งโน้น
  33. คงฺคาโสต : ป. กระแสน้ำ
  34. จีวรปฏิคฺคาหก : (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่รับจีวร
  35. ฉตฺตคาหก : ค. ผู้ถือร่ม, ผู้กางร่ม
  36. ตุรงฺคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่ไปเร็ว, ควาย, กระบือ. ตุร+น+คมฺ ธาตุ อิ หรือ ณิ ปัจ. แปลง น เป็น ง มฺ เป็น รฺ ทีฆะต้นธาตุ.
  37. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  38. ธมฺมสงฺคาหก : ค. ผู้ร้อยกรองหรือแต่งพระคัมภีร์
  39. นิคฺคหก นิคฺคาหก : (วิ.) ผู้ข่ม, ฯลฯ.
  40. นิคฺคาหก : ค. ผู้ติเตียน, ผู้ข่มขู่, ผู้กดขี่
  41. นิพฺพานคามินี : (อิต.) ปฏิปทาเป็นเครื่อง ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน. ข้อปฏิบัติ ให้สัตว์ถึงพระนิพพาน.
  42. นิมิตฺตคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาซึ่งนิมิต
  43. ปฏิกูลคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยอาการอันขัดแย้ง
  44. ปฏิชคฺคาเปติ : ก. ให้ปฏิบัติ, ให้บำรุง, ให้ดูแล, ให้เลี้ยงดู
  45. ปตฺตคาหก : ป. ผู้ถือเอาบาตร, คนรับบาตร
  46. ปทกฺขิณคฺคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ความรับเอาโดยความเคารพ, ความฉลาด, ความชำนาญ
  47. ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
  48. ปยคฺคาหี : ค. ผู้ยึดติด, ผู้ยึดถือ, ในสิ่งอันน่ารัก น่าพอใจ
  49. ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
  50. พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-723

(0.0718 sec)