Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ , then ศิ, ษิ, สิ, สี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ, 732 found, display 251-300
  1. เทสก เทสิ : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
  2. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  3. ธก ธงฺก : (ปุ.) นกกา, นกยาง. ธกฺ ธํกฺ โฆรวาสิเต, อ. นกเหยี่ยว, ธกฺ ธกํ ปริฆาเต, อ.
  4. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  5. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  6. นวมลฺลิกา : (อิต.) มะลิซ้อน, ชบาต้น. วิ. นวา นูตนา มลฺสิกา นวมลฺสิกา. เป็น นวมาลิกา บ้าง. ส. นวมลฺลิกา.
  7. ปนฺนค : (ปุ.) สัตว์ผู้มีหัวตกไป, สัตว์ผู้ไม่ไป ด้วยเท้า, ( เคลื่อนไปด้วยกระดูกซี่โครงและ เกล็ด ), งู, นาค, นาคราช. วิ. ปนฺนสิโร คจฺฉตีติ ปนฺนโค. ปนฺนํ คจฺฉตึติ วา ปนฺน โค. ปาเทหิ น คจฺฉตีติ วา ปนฺนโค. ปนฺน ปุพฺโพ, คมุ สปฺปคติยํ, กวิ.
  8. ปภาว : (ปุ.) เดชเกิดจากการมีอำนาจลง อาชญา, เดชเกิดแต่อาชญา, ( ทณฺฑโช เตโช ) , อำนาจ, ฤทธิ์. วิ. ปภวนฺติ เตชสฺ สิโน อเนเนติ ปภาโว. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ.
  9. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  10. ปรภต : (ปุ.) นกกระเหว่า.วิ. เหมือน ปรปุฏฺฐ. เป็นแต่เปลี่ยน โปสิโต เป็น ภโต ภรฺ โปสเน, โต. ลบที่สุดธาตุ.
  11. ปริกตฺถน : (นปุ.) การสรรเสริญ, การเยินยอ, การยกย่อง, ความสรรเสริญ, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ.
  12. ปริกตฺถนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การเยินยอ, การยกย่อง, ความสรรเสริญ, ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ.
  13. ปริตฺตารมฺมณธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีอารมณ์เป็น ปริตตะ ได้แก่ จิตและเจตฺสิกอันเป็น กามาวจร. ไตร. ๓๓ / ๓๖๗.
  14. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  15. ผาสุ : (นปุ.) ความอิ่มใจ, ความพอใจ, ความยินดี, ความสำราญ, ความสุข, ความสบาย. ผสฺสฺ สินิเยฺห, ณุ. ลบ สฺ สังโยคทีฆะต้นธาตุ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ
  16. ภุชสิ : (ปุ.) บ่า, ไหล่. วิ. ภุชานํ สิโร มตฺถกํ ภุชสิ-โร.
  17. มาคสิ : (ปุ.) เดือน ๑, เดือนอ้าย. วิ. มคสิเรน ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย นกฺขตฺเตน ยุตฺโตมาโส มาคสิโร, ธันวาคม, เดือนธันวาคม.
  18. มูสา : (ปุ.) หนู วิ. มุสติ เถเนตีติ มูสิโก. มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ, อิตฺตญฺจ, ณิโก วา, ทีโฆ จ.
  19. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  20. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  21. รสมนฺตุ : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์. วิ. รํสิ อสฺสาตฺถีติ รํสิมา. มนฺตุ ปัจ.
  22. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  23. สาธฺย : (วิ.) อันบุคคลพึงให้สำเร็จ, ควรให้สำเร็จ. สาธฺ สํสิทธิยํ, โ ณฺย.
  24. สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  25. สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
  26. สิกฺข : (ปุ.) ประชุมแห่งสิกาขา. สิกฺขา+ณ ปัจ. สมุหตัท.
  27. สิคาล สิงฺคาล : (ปุ.) หมาจิ้งจอก, หมาป่า. วิ. สสาทโย สรตีติ สิคาโล สิงฺคาโล วา. สรฺ หึสายํ, อโล, สรติสฺส สิโค สิงฺโค วา.
  28. สิญฺจ สิญฺจน : (นปุ.) การรด, การราด. สิจุ ปคฺฆรเณ, อ, ยุ. ลงนิคคหิตอาคมประจำหมวดธาตุ.
  29. สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
  30. สิตรสำ : (ปุ.) สิตรังษี ชื่อของพระจันทร์ พระจันทร์.
  31. สินฺทิ : (อิต.) อินทผลัม, เป้ง ก็ว่า. สิทฺ โมจเน เ สฺนหเน จ, อิ, นิคฺคหิตาคโม. สนฺทฺ ปสวเน, อสฺสิ. เป็น สนฺที บ้าง?.
  32. สินฺทูร : (นปุ.) ชาด, เสน. สนฺทฺ ปสเว, อูโร, อสฺสิ.
  33. สิเนรุ : (ปุ.) เขาสิเนรุ, เขาสุเมรุ, เขาพระสุเมรุ. วิ. สินาติ สุจึ กโรติ เทเวติ สิเนรุ. สินา โสเจยฺเย, เอรุ. มคธเป็น สิเนรุ ไทยใช้เป็นสุเมรุ.
  34. สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  35. สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  36. สิปฺปิ สิปฺปี สิปฺปิกา : (อิต.) หอยโข่ง. สปฺปฺ คมเน, อิ, อสฺสิ. แปลว่า หอยกาบ หอยนางรม ไข่มุก บ้าง.
  37. สิลาโปกขรณี : (อิต.) ตระพังหิน. วิ. สิลามยา โปกฺขรณี สิลาโปกฺขรณี. ตระพังคือบ่อน้ำ.
  38. สิลาภู : (ปุ.) งูเห่า, งูเขียว, งูเล็ก. วิ. ปฐมกาเล สิลายํ ภวตีติ สิลาภู. ภู สตฺตายํ, กฺวิ.
  39. สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  40. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  41. สิเลสุม : (ปุ.) เศลษม์, เสลด, เสมหะ สิลิสฺ สิเลสฺ วา สิเลสเน, อุโม.
  42. สุสิ : (วิ.) มีช่อง, ฯลฯ. สุสิ+รปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  43. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  44. เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
  45. เสมฺห : (ปุ. นปุ.) ไศลษม์ เสลด เสมหะ ชื่อเมือกที่ออกจากลำคอหรือลำไส้ วิ. สิลิสฺสเต อเ ตฺรติ เสมฺห. สิลิสฺ สิเลสเน, โม, ลิสสฺส โห, วณฺณปริยาโย จ. ส. ศฺลษฺมก. เศลษฺมนฺ.
  46. เสเลยฺย : (นปุ.) กำยาน วิ. สิลายํ ปาสาเณ ภวํ เสเลยฺยํ. เณยฺย ปัจ.
  47. หริณ : (ปุ.) เนื้อ, กวาง. วิ. หรียตีติ หริโณ. หรฺ นยเน, ยุ, อสฺสิ. จามจุรี ก็แปล.
  48. หฬ : (ปุ.) การยกย่อง. หฬฺ สิลาฆายํ, อ.
  49. หึสก : (วิ.) ผู้เบียดเบียน, ผู้ทำร้าย, ผู้ประทุษร้าย. หิสิ หึสายํ, ณฺวุ. ส. หึสก.
  50. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-732

(0.0653 sec)