Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดำรงอยู่, อยู่, ดำรง , then ดำรง, ดำรงอย, ดำรงอยู่, อย, อยู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดำรงอยู่, 878 found, display 351-400
  1. ปติกฺขนฺต : กิต. รออยู่, คอยอยู่
  2. ปทฺวารฏฺฐายินี : ค. ผู้ยืนแอบประตู, ผู้ยืนอวดทรวดทรงอยู่ที่ประตู
  3. ปทหน : (นปุ.) อันตั้งอยู่, การตั้งอยู่, ความตั้งอยู่. ปปุพฺโพ, ทหฺ ธารเณ, ยุ.
  4. ปเทสลกฺขณ : นป. ลักษณะที่ปรากฏแต่เพียงบางส่วน, หมายถึงลักษณะของพระโพธิสัตว์ที่มีอยู่แต่เพียงบางประการ
  5. ปนฺตเสน : ค. ผู้อยู่ในที่สงัด, ผู้อยู่ห่างไกลจากผู้คน, เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  6. ปนฺถเทวตา : อิต. เทวดาที่สิงอยู่ตามถนนหนทาง, เทวดาเจ้าทาง
  7. ปนฺถมกฺกฏก : ป. แมงมุมซึ่งชักใยอยู่ตามถนนหนทาง
  8. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  9. ปพฺพตฏฺฐ : ค. ผู้ยืนอยู่บนภูเขา, ซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา
  10. ปพฺพตรฏฺฐ : นป. แคว้นซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา, ชื่อแคว้นหนึ่งซึ่งตั้งอยู่กลางแคว้นวิเทหะ
  11. ปพฺพตวาสี : (วิ.) ผู้มีการอยู่ที่ภูเขาโดยปกติ, ฯลฯ . ดู ธมฺมจารี.
  12. ปพฺพนิย : ค. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือตอนหนึ่ง, ซึ่งประกอบด้วย, ซึ่งเนื่องใน, ซึ่งจัดอยู่ใน
  13. ปรทตฺตูปชีวี : (วิ.) ( เปรต ) ผู้อาศัยทานอัน บุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่โดยปกติ, ผู้มีปกติ เข้าไปอาศัยทานอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่, ผู้อาศัยทานอันบุคคลให้เป็นอยู่, ผู้ เป็นอยู่ ด้วยทานอันบุคคลให้ .
  14. ปรเนยฺย : ค. ผู้ควรที่ผู้อื่นจะแนะนำได้, ซึ่งถูกผู้อื่นชักจูง, ผู้อยู่ในปกครองของผู้อื่น
  15. ปรปจฺจย : ค. มีผู้อื่นเป็นปัจจัย, ซึ่งอาศัยผู้อื่นสนับสนุน, ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้อื่น
  16. ปรวาที : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีวาทะอื่น, อาจารย์ผู้ มีวาทะแก่อาจารย์ผู้อยู่ในเบื้องหน้า, พระ ปรวาที พระปรวาทีอาจารย์ ( อาจารย์ ผู้ ตอบ อาจารย์ผู้ค้าน ).
  17. ปรหตฺถคต : ค. ซึ่งตกอยู่ในเงื้อมมือของข้าศึก
  18. ปรายี : ค. ผู้มีที่อยู่อาศัย, ผู้มีที่พึ่ง, ผู้มีผู้อุปถัมภ์
  19. ปริตฺตาภา : (อิต.) ภูมิเป็นที่เกิดของพรหม- ปริตตาภะ, ภูมิเป็นที่อยู่ของพรหม- ปริตตาภะ.
  20. ปริปนฺถิก : ค. ผู้ตกอยู่ในอันตราย, ผู้ขัดขวาง, ผู้คัดค้าน, ข้าศึก
  21. ปริวสติ : ก. อยู่อาศัย, ครอบครอง
  22. ปริเวณ : นป. บริเวณ, ขอบเขต; ถิ่นที่อยู่
  23. ปวสติ : ก. อยู่ต่างถิ่น, อยู่ไกลบ้าน
  24. ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
  25. ปวาสี : ค. ผู้อยู่ต่างถิ่น, ผู้อยู่นอกบ้าน
  26. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  27. ปวุตฺถ : ค. อยู่แล้ว, อาศัยอยู่ภายนอกบ้าน
  28. ปสฺสย : ป. ที่อยู่อาศัย, อาศรม, ที่พึ่งพิง, ที่พักพิง
  29. ปสฺสาว : ป. เยี่ยว, ปัสสาวะ, ของเหลวๆ ซึ่งอยู่ในไตและถูกขับออกมาจากร่างกาย
  30. ปาริวาสิก : ป. ภิกษุผู้อยู่บริวาสเพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส
  31. ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
  32. ปิตฺติวิสย : ป. ที่อยู่ของผีหรือเปรต
  33. ปิตุสนฺตก : ๑. นป. สมบัติของบิดา; ๒. ค. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา
  34. ปิลาปนตา : อิต. ความเป็นอยู่แต่เพียงผิวๆ
  35. ปุฏส : ค. มีถุงหรือย่ามห้อยอยู่บนบ่า
  36. ปุพฺพเทว : (ปุ.) เทวดาก่อน, เทพก่อน, ปุพพเทวะ ชื่อของอสูรชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ, อสูร (ครองดาวดึงส์อยู่ก่อน).
  37. ปุพฺพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่อาศัยร่วมในก่อน, การอยู่อาศัยร่วมในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  38. ปุพฺเพนิวาส : (ปุ.) การอยู่ในกาลก่อน, การอยู่อาศัยในกาลก่อน, การอยู่ร่วมกันในกาลก่อน.
  39. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  40. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  41. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  42. ปุรตฺถิมทิสา : (อิต.) ทิศอันตั้งอยู่ในเบื้องหน้า. ทิศตะวันออก.
  43. ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
  44. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  45. ปุราณทุติยิกา : (อิต.) หญิงผู้ที่สองมีในก่อน, หญิงที่สองมีในก่อน, ปุราณทุติยิกา คือเมียที่มีอยู่ก่อนออกบวช ภริยาเก่าครั้งเป็นคฤหัสถ์ ภริยาเก่าของผู้ออกบวช.
  46. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  47. เปตฺตนิก : ค. ผู้มีชีวิตอยู่ด้วยมรดกตกทอดจากบิดา
  48. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  49. เปตฺติวิสย : (ปุ.) ที่อยู่ของหมู่เปรต, ประเทศเป็นแดนของหมู่เปรต,ภพของเปรต.
  50. เปตวิสย : (ปุ.) ที่อยู่ของเปรต, เปตวิสัย, เปรตวิสัย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-878

(0.0531 sec)