Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดำรงอยู่, อยู่, ดำรง , then ดำรง, ดำรงอย, ดำรงอยู่, อย, อยู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดำรงอยู่, 878 found, display 501-550
  1. วุสิต : กิต. อยู่แล้ว
  2. เวมานิก : ค. ผู้อยู่ในวิมาน
  3. เวสฺม : ป. การอยู่อาศัย; ที่อยู่
  4. โวสิต : กิต. อยู่จบแล้ว
  5. สคฺควาสี : ป. ผู้อยู่บนสวรรค์
  6. สญฺชีวน : นป. ความเป็นอยู่, การฟื้นฟู, คืนชีพ
  7. สณฺฐาติ : ก. ตั้งอยู่
  8. สทฺธิวิหาริก : ค. ผู้อยู่ร่วม, หมายถึงภิกษุที่บวชกับอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธวิหาริกของอุปัชฌาย์องค์นั้น
  9. สทน : นป. ที่อยู่, ที่กิน; บ้าน
  10. สนฺตก : นป. ของมีอยู่, สมบัติ
  11. สนฺติ : ๑. อิต. ความสงบ; ๒. ก. มีอยู่
  12. สนฺตุฏฺฐ : กิต. ยินดีแล้วด้วยของของตนที่มีอยู่
  13. สนฺนิวสติ : ก. อยู่อาศัย
  14. สนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วม, การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ด้วยกัน,การอยู่อาศัย, การอยู่อาศัยร่วมกัน, ความอยู่ร่วม,ฯลฯ.สํ นิ ปุพฺโพ,วสฺ นิวาเส, โณ.
  15. สนฺนิเวส : (ปุ.) การตั้งลง, การตระเตรียม, การเข้าไป, การเข้าไปอยู่, ทรวดทรง, สัณฐาน, สํ นิ ปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, โณ.
  16. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  17. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  18. สโภชน : ๑. นป. การกินร่วมกัน; ๒. ค. มีคนอยู่ด้วยกันสองคนคือผัวกับเมีย
  19. สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  20. สมฺภว : (วิ.) เกิด, ปรากฎ, เป็นอยู่.
  21. สมฺภวติ : ก. เกิด, เจริญ, มีอยู่
  22. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  23. สมานวาส : (วิ.) ผู้มีการอยู่ด้วยชนเสมอกัน.
  24. สมานสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ร่วมกันได้, สมานสังวาส ใช้สำหรับพระสงฆ์ในความว่าทำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกันได้.
  25. สมุทาคมน : (นปุ.) ความเป็นไป, ความเป็นอยู่, ความมีอยู่. สํ+อุ+อาคมน ทฺ อาคม.
  26. สยนิคฺคห : (นปุ.) ห้องอยู่, ห้องนอน, เรือนเป็นที่นอน. วิ. สยติ เอตฺถาติ สยนี. สาเอว คหํ สยนิคฺคหํ.
  27. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  28. สลฺลีน : กิต. เร้นอยู่, แอบ, หาที่อยู่อย่างเร้นลับ
  29. สวตฺตติ : ก. เป็นไปอยู่
  30. สวสติ : ก. อยู่ร่วม
  31. สวาส : ป. การอยู่ร่วม
  32. สวิชฺชติ : ก. มีอยู่
  33. สสน : (นปุ.) การเป็นอยู่, การมีชีพอยู่. สสฺ ปาณเน, ยุ. การเบียดเบียน, การฆ่า, การฆ่าฟัน. สสฺ หึสายํ, ยุ.
  34. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  35. สหภู : ค. ซึ่งเป็นอยู่ร่วมกัน
  36. สอุปาทิเสส : ค. ซึ่งดับกิเลสแต่ยังมีชีวิตอยู่
  37. สากุณิก : (ปุ.) บุคคลผู้ฆ่าซึ่งนกเป็นอยู่, พรานนก. วิ. สกุเณ หนฺตฺวา ชีวตีติ สากุณิโก. ณิก ปัจ.
  38. สาคาร : ค. ผู้อยู่ในบ้าน
  39. สามเณร : (ปุ.) เหล่ากอแห่งสมณะ, สามเณร (ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐). วิ. สมณสฺส อปจฺจํ สามเณโร. เณร ปัจ. ในบทกลอนและภาษาพูดใช้ว่า “เณร” ได้.
  40. สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
  41. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  42. สาส : (ปุ.) โรคหืด, โรคผอมเหลือง, โรคมองคร่อ ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีเสมหะแห้งอยู่ในลำหลอดคอ. โรคไอ ก็แปล.
  43. สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
  44. สิมฺพลี : (ปุ. อิต.) ไม้งิ้ว, ไม้งิ้วบ้าน. อลี ปัจ. ส่วนมากใช้อิต. เรียกว่าที่อยู่ของพญาครุฑว่าวิมานสิมพลี หรือวิมานฉิมพลี.
  45. สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  46. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  47. สีปฏฺฐ : ค. ตั้งอยู่บนเขตแดน
  48. สุกริก : (ปุ.) คนผู้ฆ่าสุกรเป็นอยู่, พรานหมู. วิ. สูกเร หนฺตฺวา ชีวตีติ สูกริโก. ณิก ปัจ.
  49. สุขสวาส : (วิ.) มีการอยู่ร่วมเป็นสุข.
  50. สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-878

(0.0635 sec)