Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดำรงอยู่, อยู่, ดำรง , then ดำรง, ดำรงอย, ดำรงอยู่, อย, อยู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดำรงอยู่, 878 found, display 751-800
  1. อาณาปชารฏฺฐ : (ปุ.) ราษฏรชาวเมืองผู้อยู่ในอำ-นาจปกครอง, ราษฏรชาวเมืองซึ่งอยู่ในอำ-นาจปกครอง, อาณาประชาราษฏร์.
  2. อาตงฺกติ : ก. เป็นอยู่ลำบาก, เจ็บป่วย
  3. อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
  4. อาป : (ปุ.) ธรรมชาตอันเอิบอาบไปสู่ที่นั้น ๆ, ธรรมชาตอันเอิบอาบไปทุกแห่ง, น้ำ.วิ.ตํตํฐานํวิสรตีติอาโป.อปฺพฺยาปเนปาปเนวา, อ.อโปติสพฺพเตรฺติวาอาโปธรรมชาตอัน....ดื่มวิ.ปาปิยตีติอาโป.อาปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.ธรรมชาติที่แห้งเพราะความร้อนวิ. อาปียติ โสสียตีติอาโปอาปุพฺโพ, ปา โสสเน, อ.ที่อยู่แห่งน้ำ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาป
  5. อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
  6. อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
  7. อายตฺต : (วิ.) ผู้พึ่ง, ผู้พึ่งพิง, ผู้อาศัย, ผู้อยู่ในอำนาจ.อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, โต.
  8. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  9. อารญฺญ : (วิ.) อยู่ในป่า, วิ.อรญฺเญวสตีติอารญฺโญ.มีอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญภวตีติอารญฺโญ.อรญฺเญวาภโวอารญฺโญ.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอารญฺโญ.อรญฺเญวาฐิโตอารญฺโญ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส.อารณฺย.
  10. อารญฺญกงฺค : นป. การสมาทานธุดงค์ คือการอยู่ป่าเป็นวัตร, องค์ของภิกษุผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
  11. อารญฺญก, - ญก : ค. ผู้อยู่ป่า, ผู้มีปกติอยู่ในป่า, ตั้งอยู่ในป่า, เกิดอยู่ในป่า
  12. อารญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร, การถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
  13. อารญฺญกวตฺต : (นปุ.) ขัอปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ในป่า.
  14. อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
  15. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  16. อารามิกอารามิกชน : (ปุ.) คนอยู่ในวัด, คนอา-ศัยวัดเป็นอยู่, คนอาศัยวัด, คนงานประจำวัด, คนวัด, อารามิกชน.
  17. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  18. อาลมฺพณอาลมฺพน : (นปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิกาเอตฺถอาคนฺตฺวาลมฺพนฺตีติอาลมฺพณํอาลมฺพนํ วา, ยุปัจ. ส. อาลมฺพนการอาศรัยอยู่, การห้อยอยู่.
  19. อาวาสมจฺฉริย : (นปุ.) ความตระหนี่ซึ่งที่อยู่, ความตระหนี่ที่อยู่, ความหวงที่อยู่.
  20. อาวาสิก : (วิ.) ผู้อยู่ในอาวาส, ฯลฯ. คำแปล อีก และวิ. เลียนแบบ อารญฺญิก.
  21. อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
  22. อาวาห อาวาหมงคล : (นปุ.) มงคลที่เป็นที่ นำมา, การนำมา, การแต่งงาน, การสมรส, อาวาหะ (การนำหญิงมาอยู่บ้านฝ่ายชาย). อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ. ส. อาวาห.
  23. อาวิสติ : ก. เข้าไป, เข้าอยู่, สิงสถิต
  24. อาวุตฺถ : กิต. เข้าอยู่อาศัยแล้ว, ถูกผีสิงแล้ว
  25. อาสมาน : ค. หวังอยู่, ปรารถนาอยู่
  26. อาสีน : (วิ.) นั่ง, นั่งอยู่. อาสฺ อุปเวสเน, โต. ตสฺส อีโณ, ณสฺส โน.อาปุพฺโพ, สิ นิสฺสเย, อาโน, อานสฺส อีโน. สิทฺ คตฺยวสาเน วา, อ, ทสฺส โน, ทีโฆ.
  27. อาฬวก, - วิก : ค. ผู้อยู่ป่าช้า, ชื่อยักษ์
  28. อิตฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคือหญิง, เรือนของ หญิง, พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, ห้องพระมเหสี. วิ. ราชิตฺถีน มคารํ อิตฺถาคารํ. โดยอุปจารโวหาร หมายเอา นางสนม กำนัล ก็ได้.
  29. อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
  30. อิราวต : (ปุ.) แหล่งของน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, ทะเล, เมฆ. อิราปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, อ, สสฺส โต.
  31. อิริยนา : (อิต.) ความเป็นไป, ความประพฤติ, ความเป็นอยู่, ความเจริญอยู่. อิริยฺ วตฺตเน, ยุ.
  32. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  33. อิสิปตนมิคทายวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ตกไปแห่ง ฤาษีและเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ, ป่าเป็นที่อยู่ แห่งฤาษีและห้ามฆ่าสัตว์.
  34. อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
  35. อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
  36. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  37. อุตฺตราวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเดินเวียนซ้าย คือ การเดินเวียนโดยมือซ้ายอยู่ทาง (ด้าน) สิ่งที่เรา เวียน, อุตราวัฏ. ส. อุตฺตรวฺฤตฺต.
  38. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  39. อุทฺธภาคิย : ค. ซึ่งอยู่ส่วนบน, เป็นส่วนเบื้องสูง
  40. อุทสฺสเย : ก. ให้ครอง, ให้ดำรง
  41. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  42. อุทิจฺจ : ค. เลิศ, ประเสริฐ, ผู้เกิดในตระกูลสูง; ผู้อยู่ทางทิศเหนือ
  43. อุปชีวติ : ก. เป็นอยู่, อาศัยอยู่, ขึ้นอยู่
  44. อุปชีวิก, - ชีวี : ค. ผู้อาศัยคนอื่นเป็นอยู่, ผู้พึ่งคนอื่น
  45. อุปติฏฐติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู, เคารพ
  46. อุปนิปชฺชติ : ก. เข้าไปนอนอยู่ใกล้ๆ , นอนข้างเคียง
  47. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  48. อุปนิสฺสยติ : ก. อาศัยอยู่, นอนเนื่องอยู่, ซ่องเสพ, เกี่ยวข้อง
  49. อุปนิสฺสาย : ก. วิ. เพราะอาศัย, เนื่องอยู่ด้วย
  50. อุปนิสีทติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, นั่งอยู่ข้างๆ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-878

(0.0807 sec)