Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดำรงอยู่, อยู่, ดำรง , then ดำรง, ดำรงอย, ดำรงอยู่, อย, อยู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดำรงอยู่, 878 found, display 801-850
  1. อุปฺปาตก : (ปุ.) หมัด สัตว์เล็กชนิดหนึ่ง ชอบ อยู่ตามหมาและแมว เป็นต้น, ไร สัตว์เล็ก ชนิดหนึ่งที่ชอบอยู่ที่ขนปีกไก่ เป็นต้น.
  2. อุปริฏฐ : ค. สูงสุด, ตั้งอยู่บน
  3. อุปวสติ : ก. เข้าอยู่, อาศัย, รักษา, เข้าจำ
  4. อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
  5. อุปวุตฺถ : กิต. เข้าอยู่แล้ว
  6. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  7. อุปสณฺฐปณา : อิต. การหยุดอยู่, การตั้งไว้
  8. อุปสวสติ : ก. เข้าไปอยู่อาศัย
  9. อุปสฺสย : (ปุ.) วิหารเป็นที่เข้าไปอาศัยอยู่. อุปปุพฺโพ, สี สเย, อ, ซ้อน สฺ.
  10. อุปาทิเสส : (วิ.) มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือ, คือ ยังมีเบญจขันธ์เหลืออยู่.
  11. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  12. อุพฺพินย : ค. อยู่นอกพระวินัย, ไม่ใช่วินัย
  13. อุภโตพฺยญฺชนก : (วิ.) มีเพศสองอย่าง คือทั้ง เพศชาย และเพศหญิงอยู่ในบุคคลคนเดียว กัน. วิ. อุภโตพฺยญฺชน มสฺส อตฺถีติ อุภโตพฺยญฺชน โก. ก สกัด ฉ. ภินนาธิกรณพหุพ. อุภโต ปวตฺตํ พฺยญชนํ ยสฺสอตฺถีติ อุภโตพฺยญชนโก. ไตร. ๔ / ๑๘๐.
  14. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  15. อุสฺสงฺข : ค. มีข้อเท้าอยู่กลาง
  16. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  17. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  18. เอกรตฺติวาส : (วิ.) มีการอยู่สิ้นราตรีเดียว. วิ. เอกรตฺตึ วาโส อสฺสตฺถีติ เอกรตฺติวาโส. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  19. เอกากินี : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงที่อยู่เปล่าเปลี่ยว
  20. โอกฺขายิก : ค. ซึ่งปรากฏ, ซึ่งอยู่ลึก
  21. โอกจร : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, ผู้อยู่ในน้ำ, ผู้เที่ยวไปในน้ำ เช่น ปลา เป็นต้น
  22. โอกโมก : (ปุ. นปุ.) อาลัยคือน้ำ, ที่อยู่คือน้ำ. โอก+โอก, มฺ อาคม.
  23. โอคณ : ค. อันแยกจากหมู่, ผู้อยู่เดียวดาย
  24. โอตมสิก : ค. ผู้อาศัยอยู่ในที่มืด
  25. โอทปตฺตกินี : อิต., ค. ผู้มีหม้อน้ำ, ภรรยาผู้มีคุณสมบัติในการจัดหาน้ำ, ภรรยาที่สมรสได้แก่สตรีที่บุรุษจับต้องภาชนะด้วยกันแล้วให้อยู่ร่วม
  26. โอทุมฺพร : (วิ.) มีอยู่ไม่ไกลแต่ต้นมะเดื่อ วิ. อุทุมฺพรสฺส อวิทูเร ภวํ โอทุมฺพรํ.
  27. โอปสายิก : ค. ซึ่งอยู่แค่เอื้อมมือ, อยู่ใกล้มือ
  28. โอรมติ : ก. หยุดอยู่, พักอยู่ฝั่งนี้
  29. โอรมาเปติ : ก. ให้งดเว้น, ให้พักอยู่ฝั่งนี้
  30. โอริม : ค. ส่วนต่ำที่สุด, สิ่งที่อยู่ด้านนี้
  31. โอโรธ : (ปุ.) พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, หมู่แห่งนางพระสนมของพระราชา, ห้องพระสนม, ห้องพระมเหสี. วิ. ยถา กามาวจริตํ  อปฺปทาเนน อวรุนฺธียติ ราชิตฺถิโย อเนนาติ โอ โรโธ. อวปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, โณ.
  32. โอลิยน : (นปุ.) ความติดอยู่. โอปุพฺโพ, ลิปิ ลิมฺปเน, ยุ.
  33. โอวชฺชมาน : กิต. อันเขาตักเตือนอยู่
  34. โอสิต : กิต. อาศัยอยู่แล้ว, เข้าถึงแล้ว
  35. โอหิยฺยก : ค. ผู้ล้าหลัง, ซึ่งอยู่ข้างหลัง
  36. โอหียติ : ก. ล้าหลัง, ชักช้า, หยุดอยู่ข้างหลัง
  37. โอหียน : นป. การล้าหลัง, การชักช้า, การหยุดอยู่ข้างหลัง
  38. อย : ป., อิต. (คน) นี้
  39. อยนงฺคล : (นปุ.) ไถเหล็ก.
  40. อยปาณิ : (ปุ.) เกรียงเหล็ก.
  41. อยปาณิกา : (อิต.) เกรียงเหล็ก.
  42. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  43. กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
  44. ชย : (วิ.) ผู้ชนะ วิ.ชินาตีติ ชโย.ชิ ชเย, อ. โณ วา. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  45. ชยฺย : (วิ.) ประเสริฐ, เจริญ, ชิ ชเย, โย.แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  46. ชลาพุ : (ปุ.) มดลูก (อวัยวะภายในของสตรี อันเป็นที่ตั้งครรภ์) วิ. ชรํ เอตีติ ชลาพุ. ชราปุพฺโพ, อิ คติยํ, อุ แปลง รา เป็น ลา อิ เป็น เอ เอ เป็น อย ย เป็น พ.
  47. ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
  48. ตย : (นปุ.) หมวดแห่ง...สาม, หมวดสาม. วิ. ติณฺณํ สมูโห ตยํ. ติโก วา ราสิ ตยํ. ติ. ศัพท์สังขยา ณ ปัจ. สมุหตัท. แปลง อิ เป็น อย รูปฯ ๓๖๔.
  49. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  50. ทยฺย : (ปุ.) คนไทย (เจริญรุ่งเรืองด้วยความดี). ทุ วุฒฒิยํ, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อย ซ้อน ย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-878

(0.0870 sec)