Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สมัยโบราณ, โบราณ, สมัย , then โบราณ, โปราณ, สมย, สมัย, สมัยโบราณ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สมัยโบราณ, 95 found, display 51-95
  1. โปราณวตฺถุ : (นปุ.) ของมีในกาลก่อน, ของเก่า, ของโบราณ, วัตถุโบราณ.
  2. ผคฺคุ : ป. สมัยอดอาหาร
  3. พาราณสี : (อิต.) พาราณสี ชื่อพระนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ.
  4. พินฺทุมตี : อิต. ชื่อของหญิงนครโสเภณีคนหนึ่งในเมืองปาตลีบุตร สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
  5. ภคฺค : (ปุ.) ภัคคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๑ ของอินเดียโบราณ, ภญฺช อวมทฺทเน, อ. แปลง ญฺช เป็น คฺค.
  6. ภทฺทยุค : นป. สมัยเจริญ
  7. มคธ : (ปุ.) มคธ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ ปัจจุบันเรียกว่า พิหาร วิ. มเคน สทฺธึ ธาวนฺตีติ มคธา. มคปุพฺโพ, ธาวฺ คติสุทฺธิยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ. มํเสสุ คิชฺฌนฺตีติ มคธา. มํสปุพฺโพ, คิธฺ อภิกํขายํ, อ. ลบ อํส และ ธฺ.
  8. มลฺล : (ปุ.) มัลละ ชื่อวงศ์กษัตริย์อินเดียโบราณ, มัลลกษัตริย์.
  9. มหาสมณ : (ปุ.) สมณะผู้ใหญ่, สมณะผู้มีคุณธรรมและมีความรู้ความสามารถมาก, พระมหาสมณะเป็นพระนามของพระมหาเถระผู้ได้รับสถาปนาเป็นพระประมุขของสงฆ์ มีพระเกียรติสูงกว่าสมเด็จพระสังฆราช. สมัยใดทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณะ สมัยนั้นจะไม่ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสังฆราช.
  10. มหี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, ที่ดิน, โลก, มหี ชื่อแม่น้ำสายที่ ๕ ใน ๕ สายของอินเดียโบราณ. มหฺ ปูชายํ วุฑฺฒิยํ วา. อ, อิตฺถิยํ อี.
  11. มิถิลา : (อิต.) มิถิลา ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ ๑ ใน ๒๑. วิ. มถียตีติ มิถิลา. มถฺ หึสายํ, อิโล, อสฺสิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา.
  12. ยมุนา : (อิต.) ยุมนา ชื่อแม่น้ำใหญ่สาย ๑ ใน ๔ สาย ของอินเดียโบราณ, แม่น้ำ ยมุนา. วิ. ยเมติ มลนฺติ ยมุนา. ยมุ อุปรเม, อุโน, อิตฺถิยํ อา. ยมสฺส ภคินี วา ยมุนา. แม่น้ำยมนา ก็เรียก.
  13. สมายิก : ค. เป็นไปตามสมัย, ชั่วคราว
  14. สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
  15. สสุมารคิร : (นปุ.) สุงสุมารคิระ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ.
  16. สาเกตุ : (นปุ.) สาเกตุ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ, เมืองสาเกต.
  17. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  18. สารทิก : (วิ.) มีในสรทสมัย.
  19. สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
  20. สิวิ : (ปุ.) สิวิ สิวี ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. เสวนฺติ อเนนาติ สิวิ. สิ เสวายํ, วิ. สิวํ กโรนฺตีติ วา สิวิ. สิว+อิ ปัจ.
  21. เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
  22. หมฺมิย : (นปุ.) เรือนโล้น, ปราสาทโล้น. หรฺ หรเณ, โย, ยมฺหิ มิอาคโม, รสฺส โม. โบราณแปลว่าบ้านเศรษฐี. ทิมแถว(เรือนหลังคาตัด) ทิมคต ก็ว่า.
  23. อกฺขณ : (ปุ.) กาลมิใช่ขณะ, สมัยมิใช่ขณะ, โชคร้าย, ยามร้าย.
  24. อกาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  25. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  26. องฺคุลิองฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิคนิยํ, อุลี.องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง.ศัพท์ต้นรัสสะ.องฺคุลี.
  27. องฺคุลิ องฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิ คนิยํ, อุลี. องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณ ยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง. ศัพท์ต้นรัสสะ. องฺคุลี.
  28. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  29. อนาถปิณฺฑิก : (ปุ.) เศรษฐีผู้มีก้อนข้าวเพื่อคนยากจน, อนาถปิณฑิกะ ชื่อของเศรษฐีท่านหนึ่งสมัยพุทธกาล.
  30. อนุราธ : (นปุ.) อนุราธนครชื่อนครหลวงของประเทศศรีลังกาโบราณ.
  31. อรณิก : (ปุ.) ตะบันไฟชื่อเครื่องมือทำให้เกิดไฟอย่างหนึ่งของโบราณรูปคล้ายตะบันหมากของคนแก่.
  32. อวนฺติอวนฺตี : (อิต.) อวันตีชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ของอินเดียโบราณเมืองหลวงชื่ออุชเชนี.วิ. น วมนฺตีติอวนฺติ.นปุพฺโพ, วมุอุคฺคิรเณ, ติ, มสฺสนตฺตํ.อวตีติวาอวนฺติอวนฺตีวา.อวฺรกฺขเณ, นฺโต, อิตฺถิยํอี.ส.อวนฺติอวนฺติกาอวนฺตี.
  33. อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
  34. อาฬวิ อาฬวี : (อิต.) อาฬวี ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. อลํ วิภูสนํ เอตฺถาติ อฬวี. วี ปัจ. อฬวี เอว อาฬวี. ลสฺส ฬตฺตํ.
  35. อุกฺกฏฺฐา : (อิต.) อุกกัฏฐา ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. อุกฺก บทหน้า ธรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ธรฺ เป็น ฐ ซ้อน ฏฺ. อุกฺกฏฺฐิ
  36. อุชฺเชนิ อุชฺเชนี : (อิต.) อุชเชนี ชื่อนคร พิเศษของอินเดียโบราณ ๑ ใน ๒๐ วิ. อุคฺคํ ริปุ ชยติ ยตฺถ สา อุชฺเชนี. อุคฺคปุพฺโพ, ชี ชเย, ยุ. ลบ คฺค ซ้อน ช. อิ อี อิต.
  37. โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
  38. กปฺปาสมย : ค. ผู้สำเร็จด้วยฝ้าย, ทำด้วยฝ้าย
  39. กสมย : ค. สำเร็จด้วยทองสัมฤทธิ์
  40. ทุสฺสมย : ค. ซึ่งสำเร็จด้วยผ้า, ซึ่งทำด้วยผ้า
  41. ธมฺมสมย : ป. สถานที่แสดงธรรม, เวลาแสดงธรรม
  42. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  43. อุทณฺหสมย : ป. เวลารุ่งอรุณ
  44. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  45. 1-50 | [51-95]

(0.0387 sec)