Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยิ่งขึ้น, ยิ่ง, ขึ้น , then ขน, ขึ้น, ยง, ยงขน, ยิ่ง, ยิ่งขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยิ่งขึ้น, 992 found, display 51-100
  1. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  2. คุนฺทา : (อิต.) กะเม็ง, ต้นกะเม็ง, หญ้ากะเม็ง ชื่อของต้นหญ้าเล็กๆ ไม่มีแก่น ขึ้นตามที่ ชื้นแฉะ ใบเขียว มีขนคาย ดอกขาว ใช้ ทำยาเด็กเป็นต้น, หญ้าปากกา. คุ สทฺเท, โท, นิคฺคหิตาคโม.
  3. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  4. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  5. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  6. นามาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออันบุคคลทรงไว้ ยิ่ง, พระนาม, พระนามาภิไธย.
  7. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  8. ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
  9. อติริตฺต : (วิ.) ยิ่ง, มากยิ่ง, เหลือ, เหลือเฟือเดน.วิ.อติริจฺจตีติอติริตฺโต.อติปุพฺโพ ริจฺสุญฺญวิโยชนสมฺปฏิจฺฉนฺนคตีสุ, โต.
  10. อติโลม : ค. มีขนมากยิ่ง
  11. อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
  12. อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
  13. อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
  14. อิสฺสริย : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, ฯลฯ. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
  15. อุกฺกฏฺฐ : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยอด, สูงสุด, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, โต, ตสฺส ฏฺโฐ.  สฺโลโป. ส. อุตฺกฤษฺฏ. อุกฺกฏฺฐ
  16. อุกส อุกฺกส : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยวด, ดียิ่ง, สูงสุด, อุกฤษฎ์, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, อ.
  17. อุกส อุกฺกส : (วิ.) ยิ่ง, ดียิ่ง, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  18. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  19. เอกนฺต : (วิ.) ยิ่ง, ล้ำ, นักหนา, หนักหนา, ข้างเดียว, ส่วนเดียว. วิ. เอติ คจฺฉตีติ เอโก. อิ คมเน, ณฺวุ, เอโก เอว เอกนฺตํ. สกตฺเถ นฺตปจฺจโย. เอกํ ตรตีติ วา เอกนฺตํ. เอก ปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม, รฺโลโป.
  20. โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
  21. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  22. กตผณ : ค. มีพังพานชูขึ้นแล้ว, แผ่พังพานแล้ว (งู)
  23. กตสุกต : ค. ถูกสร้างขึ้นมาดี, ประกอบขึ้นดี
  24. กตาภินิหาร : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นเครื่องนำออก ซึ่งคุณอันยิ่งอันทำแล้ว, ผู้มีอภินิหาร อัน ทำแล้ว, ผู้มีกฤษฎาภินิหาร, ผู้มี กฤดาภินิหาร.
  25. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  26. กทาจุปตฺติก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นในกาลบางครั้ง
  27. กมฺมมูลก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีกรรมเป็นมูล
  28. กมฺมสมฺภว : ค. เกิดขึ้นแต่กรรม, มีกรรมเป็นแดนเกิด
  29. กมฺมสมุฏฐาน : ค. อันเกิดขึ้นแต่กรรม
  30. กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
  31. กลลรูป : นป. กลลรูป, รูปที่พึ่งมีขึ้นเมื่อตั้งครรภ์
  32. กากติตฺถา : อิต. กรรมที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
  33. กากมาสก : (ปุ.) กากมาสกะ ชื่อคนที่บริโภค มากล้นขึ้นมาถึงขอบปาก จนนกกาอาจ จิกกินได้.
  34. กามคฺค : นป. ความกำหนัดยิ่ง, ความยินดียิ่ง
  35. กามูปปตฺติ : อิต. กามอุบัติ, การเข้าถึงกาม, การเกิดขึ้นแห่งกาม
  36. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  37. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  38. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  39. กาเรติ : ก. ให้ทำ; ขึ้นครอง (ราชย์)
  40. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  41. กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
  42. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  43. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  44. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  45. กิเลสวตฺถุ : นป. กิเลสวัตุ, วัตถุเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งกิเลส
  46. กึสุอธิปติ : (วิ.) เป็นใหญ่ยิ่งแห่งอะไรสิ.
  47. กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
  48. กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
  49. กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
  50. ขลภณฺฑกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำซึ่งลอมในลาน, กาลเป็นที่กระทำซึ่งข้าวเป็นต้นให้เป็นลอม ในลาน. ลอม คือ การตะล่อมของให้สูง ขึ้นเป็นจอม.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-992

(0.0703 sec)