Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กตฺ , then กต, กตฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กตฺ, 85 found, display 1-50
  1. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  2. กตฺตุ กตฺตุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ, ผู้ทำ. วิ. โย กโรติ โส กตฺตา.
  3. กตฺตริ กตฺตริย : (นปุ.) กรรไกร, ฯลฯ.
  4. กตฺตริกา : (อิต.) กรรไกร, กันไตร, กรรไตร, ตะไกร, กันไกร.
  5. กตฺตริ, - ริกา, - ตรี : อิต. กรรไกร, ตะไกร, มีด; กลาสี
  6. กตฺติก กตฺติกมาส : (ปุ.) เดือนอันประกอบ ด้วยดาวฤกษ์ชื่อกัตติกา, เดือนกัตติกา, เดือน ๑๒, เดือนพฤศจิกายน.
  7. กตฺติก, - มาส : ป. ชื่อเดือนที่มีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์กัตติการาวเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน
  8. กตฺติกา : (อิต.) กัตติกา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๓ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๘ ดวง, ดาวลูกไก่, ดาว ธงสามเหลี่ยม, กรรดึก. ส. กฤตฺติกา
  9. กตฺตุกมฺยตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
  10. กตฺตุกาม : ค. ใคร่ทำ, อยากทำ
  11. กตฺตุกามตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
  12. กตฺตุการก : (ปุ.) กัตตุการก ชื่อตัวประธาน ของกัตตุวาจก.
  13. กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
  14. กตฺถูริกา : (อิต.) ชะมด. กตฺถฺ สิลาฆายํ, อูโร, อิอาคโม, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
  15. กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ; ๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
  16. โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
  17. กตุ : (ปุ.) การบูชา, การบูชายัญ, ยัญ. วิ. สคฺคตฺถิเกหิ กรียตีติ กตุ (อันคนผู้ต้องการสวรรค์ทำ). กรฺ กรเณ, ตุ. กตฺตก
  18. กปิสีส : (ปุ.) ลิ่มไม้, ดาฬประตู. กปิรูปมตฺถ- กตฺตา กปิสีโส.
  19. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  20. กาฬสุตฺต : (ปุ.) กาฬสุตตุ ชื่อนรกใหญ่ขุมที่ ๒ ใน ๘ ขุม วิ. ยตฺถ นิรเย เนรยิกานํ สรีรานิ วฑฺฒกีนํ กาฬสุตฺเตน สญฺญ าณํ กตฺวา วาสินา ตจฺฉนฺติ โส กาฬสุตฺโต.
  21. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  22. นิพฺพุทฺธ : (นปุ.) การชกกัน วิ. อโธภาคํ พนฺธนํ วา กตฺวา ยุชฺฌนฺตฺยเตฺรติ นิพฺพุทฺธํ. นิปุพฺโพ, ยุธฺ สมฺปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ แปลง ยุ เป็น พุ. อญญมญญสฺส เวธํ นิพฺเพเธฺนฺตฺยเตฺรติ วา นิพฺพุทฺธํ เวธฺ เวธเน โต, เอสฺสุ.
  23. พฺยางฺค : (นปุ.) ส่วนของเสียง, หน่วยของเสียงหนึ่งๆ, พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ เช่น ชโน มี ๒ พยางค์ กตฺวา มี ๒ พยางค์ ปุริโส มี ๓ พยางค์ เป็นต้น.
  24. ภิงฺคราช : (ปุ.) ตองแตก ชื่อต้นไม้ เถาใบเป็นสองแฉก. วิ. ภมตีติ ภิงฺโค วุจฺจติ ภมโร. ตพฺพณฺรํ กตฺวา เตสํ รญฺเชตีติ ภิงฺคราโช.
  25. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  26. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  27. อวญฺญิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ฯลฯ.วิ.เหฏฺฐา กตฺวาญายตีติอวญฺญิต.
  28. อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.
  29. อาลปน : (นปุ.) การร้องเรียก, การบอกเล่า, การกล่าว, การพูด, การสนทนา, คำทัก, คำร้องเรียก, คำกล่าวโดยทำต่อหน้า, การกล่าวโดยทำต่อหน้า, วิ.อภิมุขํกตฺวาลปนํอาลปนํ.ส.อาลปน.
  30. กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
  31. กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
  32. กตชาติหิงฺคุลิก : ค. ตกแต่งแล้วด้วยสีแดงอันบริสุทธิ์
  33. กตปฏิสนฺถารภิกฺข : (ปุ.) ภิกษุผู้มีปฏิสันถาร อันบุคคลทำแล้ว.
  34. กตปรปฺปวาท : ค. ผู้กล่าวร้ายคนอื่น
  35. กตปริคฺคห : ค. ชายผู้แต่งงานแล้ว
  36. กตปริจย : ค. ผู้คุ้นเคย
  37. กตปาปกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอัน ทำแล้ว, ผู้มีกรรมคือบาปอันทำแล้ว.
  38. กตปุญฺญกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบุญอัน ทำแล้ว, ฯลฯ.
  39. กตปุญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้ว
  40. กตพุทฺธิ : ค. ผู้มีใจอันฝึกฝนแล้ว, ผู้ฉลาด
  41. กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
  42. กตโยคฺค : ค. ผู้ทำความขวนขวายแล้ว
  43. กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
  44. กตสนฺนาห : ค. ผู้สวมเกราะ
  45. กตสรีรปฏิชคฺคน : (วิ.) ผู้มีการประคับประคองซึ่ง สรีระอันทำแล้ว.
  46. กตสุกต : ค. ถูกสร้างขึ้นมาดี, ประกอบขึ้นดี
  47. เกตุ : (ปุ.) ลักษณะ, ธง. วิ. กิตฺติ อปเนติ เอเตนาติ เกตุ. กิตฺ นิวาเส, อุ กิตติ อุทฺธํ คจฺฉ ติ อุปริ นิวสตีติ วา เกตุ. กัจฯ๖๗๑ รูปฯ ๖๖๕ วิ อุทฺธํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ เกตุ. กิคติยํ. ตุ, อิสฺเส. ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. สฺ เกตุ.
  48. กตมนิกาย กตรนิกาย : (ปุ.) พวกไหน, นิกายไหน.
  49. กติ : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. กตํ อลฺลํ อสฺส อตฺถีติ กติ.
  50. กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
  51. [1-50] | 51-85

(0.0114 sec)