Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กระแสเสียง, เสียง, กระแส , then กรส, กระแส, กระแสเสียง, สยง, เสียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กระแสเสียง, 299 found, display 1-50
  1. : (ปุ.) ศัพท์, เสียง, งู. ฒิ มุยฺห, อ.
  2. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  3. ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
  4. รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
  5. รสนา : อิต. ลิ้น; สายรัดเอว; ความยินดี, ความอร่อย; เสียง
  6. สราว : ป. การร้อง; เสียง
  7. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  8. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  9. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  10. กิตฺติสทฺท : (ปุ.) เสียงสรรเสริญ, ฯลฯ, เสียง เลื่องลือคุณ.
  11. กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
  12. ขฏขฏ : ค. (เสียง) ขฏะขฏะ
  13. คชฺชิ คชฺชี : (ปุ.) เสียง. คชฺชฺ สทฺเท, อิ, อี.
  14. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  15. : (ปุ.) ความระคน, ความเป็นใหญ่ยิ่ง, ความสะดุ้ง, เสียง. อภิฯ น. ๔๖๒.
  16. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  17. ธนิ : (ปุ.) เสียง. ธนฺ สทฺเท. อิ. รูปฯ ๖๖๓.
  18. นินท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นโท นินโท. ส. นินท.
  19. นินท, นินาท : ป. เสียง
  20. นินนาทิ : (วิ.) (เสียง) มีกังวาน วิ. นินฺนาโท เอตฺถ อตฺถีติ นินฺนาทิ. อิ ปัจ.
  21. นินาท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นาโถ นินาโท. ส.นินาท. หมายถึงเสียงทั่วไป.
  22. นิสฺสน : ป., นป. เสียง
  23. พณ : ป. เสียง
  24. พาณ : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกปืน, เสียง. วิ. วณฺยเต อเนนาติ พาโณ. วณฺ สทฺเท, โณ. แปลง ว เป็น พ.
  25. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  26. รวา : อิต. เสียง
  27. อนุนาสิก : ค. ซึ่งเกิดทางจมูก (เสียง)
  28. อวิสารี : (วิ.) ไม่เครือพร่า (เสียง...)วิ. พหิทฺธาปริสํองฺคุลิมตฺตมฺปินวิสรตีติอวิสารี.นวิปุพฺโพ, สรฺคติยํ, ณี.วิวิเธนนสรตีติวาอวิสารี.
  29. อุปรว : นป. เสียง
  30. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  31. กณติ : ก. ทำเสียง, ส่งเสียง
  32. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวยว) เป็นเครื่องทำเสียงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรียเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ยุ.
  33. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  34. กลกล : ป. เสียงโกลาหล, เสียงเซ็งแซ่
  35. กลติ : ก. เปล่งเสียงร้อง, ร้องออกมา
  36. กลหล : (ปุ.) เสียงกึกก้อง, เสียงเซ็งแซ่, โกลาหล. กลปุพฺโพ, หลฺ วิเลขเณ, อ.
  37. กลหสทฺท : ป. เสียงทะเลาะกัน
  38. กลิต : กิต. เปล่งเสียงร้อง
  39. กากบาท : (ปุ.) เท้าของกา, กากบาท ใช้เรียก รูปวรรณยุกต์ + เมื่อลงวรรณยุกต์นี้แล้ว ออกเสียงจัตวา และใช้เรียกรูป + (บวก) และรูป X (คูณ) คือใช้เรียกได้ทั้งเครื่อง หมายบวกและเครื่องหมายคูณ.
  40. กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
  41. กากวสฺส : ป. เสียงร้องของกา, เสียงร้องดุจเสียงกา
  42. กากสฺสร, กากสฺสรก : ค. มีเสียงเหมือนเสียงกา
  43. กาโกรว : ป. เสียงร้องของกา, เสียงการ้อง
  44. การนฺต : (ปุ.) ที่สุดแห่งอักษร, อักษรตัวที่สุด, อักษรตัวหลัง (ของศัพท์), ไทย การันต์ หมายถึงอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ “ ์“ กำกับไว้.
  45. กิณิ : ป. เสียงดังกริ๋งๆ
  46. กิตฺติโฆส : ป. การประกาศชื่อเสียง, การประกาศเกียรติคุณ
  47. กิตฺติ, - ตี : อิต. เกียรติ, ชื่อเสียง, การสดุดี, การสรรเสริญ
  48. กิริ- กิริ : อ. เสียงร้อง “กิริ- กิริ” ของนก
  49. กิลิ : ๑. อ. “ดังกิลิๆ” , ๒. อิต. เสียงที่ดัง ‘กิลิๆ’
  50. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-299

(0.0732 sec)