Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล่าวโจมตี, โจมตี, กล่าว , then กลาว, กล่าว, กลาวจมต, กล่าวโจมตี, โจมตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล่าวโจมตี, 320 found, display 1-50
  1. อริภาเสติ : ก. กล่าวโจมตี, ท้าทาย
  2. กเถติ : ก. พูด, กล่าว, สนทนา
  3. คทติ : ก. พูด, กล่าว
  4. ฆุรติ : ก. กลัว, น่ากลัว; ออกเสียง, ร้อง, กล่าว
  5. ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
  6. ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
  7. พฺรูติ, พฺรูเมติ : ก. พูด, กล่าว
  8. วฺยาหรติ : ก. พูด, คุย, กล่าว
  9. อธิภาสติ : ก. พูด, บอก, กล่าว
  10. อพฺภุทีเรติ : ก. เปล่งเสียงออก, กล่าว
  11. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  12. อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
  13. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  14. อุทีเรติ, อุทีรยติ : ก. เปล่ง, กล่าว, พูด, ประกาศ; ให้เกิดขึ้น, ให้มีขึ้น
  15. วทติ : ก. กล่าว
  16. วเทติ : ก. กล่าว
  17. วุจฺจติ : ก. กล่าว
  18. อภิชปฺปติ : ก. ๑. อยาก, ปรารถนา; ๒. กล่าว
  19. โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
  20. ปวทติ : ก. กล่าว, พูด, สนทนา, โต้ตอบ
  21. ปวุจฺจติ : ก. (อันเขา) กล่าว, เรียก
  22. ภณติ : ก. กล่าว, สวด
  23. ภาส : (วิ.) กล่าว, บอก, พูด. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ.
  24. ภาสติ : ก. กล่าว, ส่องแสง
  25. วฺยาขฺยาติ : ก. กล่าว, ประกาศ
  26. โวหรติ : ก. กล่าว, เรียก
  27. อกฺขติ : ก. กล่าว, บอก, ประกาศ
  28. อชฺฌภาสติ : ก. กล่าว, ปราศรัย
  29. อภิภาสติ : ก. กล่าว, พูด
  30. อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
  31. กจฺฉติ : ก. อันเขาย่อมกล่าว, อันเขาย่อมทำ
  32. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  33. กตฺตุวาจก : (ปุ.) กัตตุวาจก, กรรตุวาจก ชื่อ วาจกที่กล่าวประธานเป็นผู้ทำ.
  34. กตปรปฺปวาท : ค. ผู้กล่าวร้ายคนอื่น
  35. กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
  36. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  37. กถกถี : (วิ.) ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอันว่า อะไร, ฯลฯ.
  38. กถน : (นปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, การพูด, การอธิบาย. กถฺ วจเน, ยุ. ส. กถน.
  39. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  40. กถาเปติ : ก. ให้กล่าว, ให้บอก
  41. กถิกาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าว, อาจารย์ผู้ อธิบาย.
  42. กถี : ค. ผู้กล่าว, ผู้แสดง
  43. กมฺมกถา : อิต. การกล่าวเรื่องของกรรม, กรรมบรรยาย
  44. กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
  45. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  46. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  47. กรณวจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งเป็นเครื่อง ทำ, ตติยาวิภัติ. ส. กรณวจน.
  48. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  49. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  50. กายวิญฺญตฺติ : อิต. กิริยาให้รู้ชัดด้วยการไหวกาย, การแสดงออกทางกาย, การบอกกล่าว, การชี้แจง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-320

(0.0493 sec)