Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กวา , then กว, กวะ, กวา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กวา, 90 found, display 1-50
  1. กวา : (ปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
  2. กวาฏก : (นปุ.) วงรับลม, บาน ประตู. ส. กวฏี กวาฏ.
  3. กวาฏ, กวาฏก : ป., นป. หน้าต่าง, บานประตูหน้าต่าง
  4. กวาฏปิฏฐ : นป. บานประตู
  5. กวาฏพนฺธ : ป. เครื่องผูกประตู
  6. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  7. กฏฺฐิ กวาณิช : (ปุ.) พ่อค้าไม้.
  8. กณฺฏกวา : ป. รั้วหนาม
  9. จกฺกวฺห จกฺกวา : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  10. จกฺกวา : ป. นกจากพราก, ห่านแดง
  11. จกฺกวา : ป. ที่กำหนด, เขตแดน, ที่ตั้งตะเกียง
  12. จกฺกวา : (ปุ.) ลมบ้าหมู (ลมหมุน)
  13. จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
  14. จกฺกวาล จกฺกวา : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวาฬ. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาฬไว้ด้วย.
  15. จกฺกวาลปพฺพต : ป., นป. จักรวาลบรรพต, ภูเขาล้อมรอบจักรวาล
  16. จกฺกวาลรชฺช : นป. ราชสมบัติในรอบจักรวาล, ความเป็นพระราชาผู้มีอำนาจทั่วจักรวาล
  17. จกฺกวาล, - วาฬ : ป., นป. จักรวาล, สุริยจักรวาล, โลก, ปริมณฑล
  18. จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิ : (อิต.) ขอบแห่งปากแห่ง จักรวาฬ.
  19. เตลสงฺคุฬิกวา : (ปุ.) วาทะว่า ขนมระคน ด้วยงา, วาทะว่าขนมแตกงา ( ขนมทำด้วย แป้งคลุกด้วยงา).
  20. นตฺถิกวา : (ปุ.) วาทะว่า อ. ทานอันบุคคลให้แล้วชื่อว่าไม่มีผล, วาทะว่าทานอันบุคคล ให้แล้วไม่มีผล.
  21. นตฺถิกวาท, - วาที : ป. ผู้มีปกติกล่าวว่าไม่มี, ผู้เชื่อในทฤษฎีที่ว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  22. มุทุกวาจา : (อิต.) คำอ่อนโยน, ฯลฯ.
  23. สกฺก สุกฺกวา : (ปุ.) วันศุกร์ วันที่ ๖ ของสัปดาห์.
  24. อนฺเตวาสิกวา : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
  25. อลิกวา : (ปุ.) การกล่าวคำเหลาะแหละ, ฯลฯ.
  26. อลิกวาที : (ปุ.) คนผู้มีปกติกล่าวคำเหลาะแหละ, ฯลฯ.
  27. โอสถิกวาณิช : (ปุ.) พ่อค้าขายยา, พ่อค้ายา.
  28. ติปุส : (ปุ.) แตงโม, แตงกวา, แตงอุลิด ( แตง กวา). ติปิ ปีณเน, อุโส. ตะกั่ว, ตะกั่วขาว. ติปฺ ปีฬเน.
  29. ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
  30. จกฺกวฺห : ป. ดู จกฺกวา
  31. : (วิ.) เจริญ, ใหญ่อุ, ภวาภว ภพและภพอันเจริญ, ภพน้อยและภพใหญ่, อผล ผลใหญ่ เวสฯ ๗๒๐ แก้ว่า ผลนฺติมหนฺตํผลํ. อภิฯ อกาโร วุฑฺฒิยํ. น้อย อุ. อพลกำลังน้อย วิ.อปฺปํ พลํ อพลํ.มีกำลังน้อยวิ. อปฺปํ พลํ ยสฺส โส อพโล.
  32. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  33. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  34. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  35. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  36. กฺว : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ว ปัจ. ลบ อึ. ส. กฺว.
  37. กีว : อ. เท่าไร? มากเท่าไร? มีประมาณเท่าไร?
  38. กีว กีวตก : (อัพ. นิบาต) เพียงไร, เท่าไร. บอกปริจเฉท ปุจฉกะ และปทปูรณะ. กึ ศัพท์ รีว รีวตกํ ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์.
  39. กุว, กุว, กฺว : อ. ที่ไหน?
  40. กุว กุวล กุวลฺย : (นปุ.) บัว, บัวสาย. วิ. กุยา ปฐวิยา วลฺยํ อิว โสภกรตฺตา กุวลฺยํ.
  41. มากฺกว : (ปุ.) ตองแตก ชื่อไม้เถาใบเป็นแฉกใช้ทำยา. มุจ โมจเน, อโว, อุสฺสา, จสฺส โก, ทฺวิตฺตญฺจ.
  42. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  43. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  44. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  45. กพร : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ด่างพร้อย. กวฺ วณฺเณ, อโร, วสฺส โพ.
  46. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  47. กวิฏฺฐ : (ปุ.) ต้นมะขวิด วิ. กวิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กวิฏฺโฐ. กวโย ติฏฺฐนฺติ เอตฺถาติ กวิฏฺโฐ.
  48. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  49. กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
  50. กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
  51. [1-50] | 51-90

(0.0239 sec)