Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กุ , then กุ, กู .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กุ, 288 found, display 1-50
  1. กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
  2. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  3. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  4. กุลาล : (ปุ.) ช่างหม้อ วิ. กุ ลลยตีติ กุลาโล. กุปุพฺโพ, ลลฺ อิจฺฉายํ, โณ. กุลติ อตฺตโน สิปฺปํ ปตฺถรตีติ วา กุลาโล. กุลฺ สนฺตาเน, อาโล. ส. กุลาล.
  5. กุสุมฺภ : (ปุ.) บ่อเล็ก, หลุมเล็ก. กุ คือ ขุทฺทก + สุมฺภ.
  6. กุกุกุงฺกุ : (นปุ.) บัวบก, ดอกบัวบก, หญ้าฝรั่น, จันทน์แดง. วิ. กามียตีติ กุกุมํ กุงฺกุมํ วา. กมฺ อิจฺฉากนฺตีสุ, อุโม. แปลง กมฺ เป็น กํก. อถวา, กุกฺ อาทาเน, อุโม, นิคฺคหิตาคโม. ส. กุงฺกุม.
  7. กุกุกุกุ : (ปุ.) นกเขา (ร้องเสียงกุกุ).
  8. กุตุมฺพก : ป. ดอกกุตุมพกะ (ชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งในอินเดีย)
  9. กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
  10. กุธารี : (อิต.) พร้ามีคมน่าเกลียด, ขวาน, ผึ่งวิ. กจฺฉิตา ธารา อสฺสาติ กุธารี.
  11. กุมาส : ป. ขนมกุมาส
  12. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  13. กุมุทิกา : (อิต.) แตงหนู, รกฟ้า (ไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่). วิ. กุจฺฉิเตน โมทตีติ กุมุทิกา.
  14. กุรี : (ปุ.?) หญ้า (เกิดบนแผ่นดิน). กุปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อี, หโลโป.
  15. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  16. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  17. กุรุนที : อิต. อรรถกถาวินัย, ชื่อกุรุนที
  18. กุรุวินฺท : (ปุ.) พลอยแดง, ทับทิม. กุรุวินฺทสุตฺติ ก้อน-จุรณ์หินสีดังพลอยแดง.
  19. กุรู กุรูร : (วิ.) แข็ง, แข็งกระด้าง, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, กักขละ, กักขฬะ, สาหัส. วิ. กนฺตตีติ กุรูรํ. กนฺตฺ เฉทเน, อูโร. กนฺตสฺส กุราเทโส, กิพฺพิสํ กโรตีติ กุรูโร. กรฺ หึสายํ, อูโร, อสฺสุ. กุรฺ อกฺโก- เส วา, อูโร. ศัพท์ต้นลง อู ปัจ.
  20. กุรู, - รุ : ป. ชาวแคว้นกุรุ, แคว้นกุรุ
  21. กุลิ : (ปุ.) มือ. กุลฺ สนฺตาเน, อิ. ส. กุลิ.
  22. กุลิตฺถี : (อิต.) หญิงควรแก่ตระกูล, หญิงผู้คู่ควรแก่ตระกูล. วิ. กุลานุรุปา อิตฺถี กุลิตฺถี. หญิงแห่งตระกูล วิ. กุลสฺส อิตฺถี กุลิตฺถี. ดูกุลธีตุ ด้วย.
  23. กุลิน กุลีน : (ปุ.) คนมีตระกูล, เหล่ากอแห่ง ตระกูล วิ. กุลสฺส อปจฺจํ กุลิโน วา. อิน, อีน ปัจ.
  24. กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชียร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติยํ, อ. กลียตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
  25. กุลีร กุฬีร กุลิร กุลิรก : (ปุ.) ปู (ปูต่างๆ) วิ. กํ ปฐวึ ลุนาตีติ กุลีโร. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อีโร. กุลติ ปตฺถรตีติ วา กุลีโร. กุลฺ สนฺตานพนฺธุสุ, อีโร.
  26. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  27. กุลุปก กุลุปิก : (ปุ.) คนผู้คุ้นเคย, กุลุปกะ กุลุปิกะ ใช้เรียกภิกษุผู้ประจำตระกูล.
  28. กุเวณิ กุเวณี : (อิต.) ไซ, ลอบ, อวน, แห. กุจฺฉิตา เวณิ เวณี วา อสฺสาติ กุเวณิ กุเวณี วา.
  29. กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
  30. กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
  31. กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
  32. กุเสสย : (นปุ.) ดอกบัว, ปทุม. วิ. กุเส ชเล สยติ ติฏฺฐตีติ กุเสสยํ. กุสปุพฺโพ, สี สเย, โณ.
  33. กุหก : (ปุ.) คนผู้ยังคนให้พิศวง, คนที่ทำคนให้ พิศวง, คนผู้ยังโลกให่พิศวง, คนหลอกลวง, คนโกหก. ก สกัด. โกหกไทยใช้เป็นกิริยาว่า พูดปด พูดเท็จ. สฺ. กุหก.
  34. กุหนาวตฺถุ : นป. กุหนาวัตถุ, วัตถุเป็นที่ตั้งแห่งความหลอกลวง, เรื่องที่จัดว่าเป็นการหลอกลวง
  35. กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
  36. กุกุตฺถก : ป. นกกวัก, นกสาลิกา
  37. กุโกล : นป. ต้นพุทรา
  38. กุชน : ค. โค้ง, งอ
  39. กุชวาร : (ปุ.) วันอังคาร.
  40. กุติตฺถ : นป. ทำผิด, ลัทธิผิด, ความเห็นผิด
  41. กุตุก : ค. กระหาย, ต้องการ, โลภ
  42. กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
  43. กุตูหลมงฺคล : นป. มงคลตื่นข่าว; งานรื่นเริง, พิธีกรรม
  44. กุตูหลสาลา : อิต. ศาลาพักผ่อน, โรงหย่อนใจ, ศาลาสาธารณะ
  45. กุทา : อ. ในกาลไร? เมื่อไร? ในกาลบางครั้ง
  46. กุทาจน, - น : อ. ในกาลไหนๆ, ในกาลบางครั้งบางคราว
  47. กุทาร : ป. ภรรยาชั่ว, เมียเลว
  48. กุทารี : ป., อิต. ขวาน, จอบ, เสียม
  49. กุทิฏฐิ : อิต. ความเห็นชั่ว, ความเห็นผิด, มิจฉาทิฐิ
  50. กุธาร : (ปุ.) ขวาน, ขวานถาก, ผึ่ง, ดู, กุฐารี ด้วย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-288

(0.0651 sec)