กฏิ : (อิต.) เอว, สะเอว, กะเอว, ตะโพก, สะโพก, ก้น, แท่ง. วิ. กฏฺยเต วตฺถาทีหี ติ กฏิ. กฏฺ สํวรเณ, อิ. ส. กฏิ.
กฏิปริโยสาน : นป. ที่สุดแห่งบั้นเอว, ก้น
กฏิปเทส : ป. ก้น, สะโพก
กฏิปุถุลก : นป. มีก้นใหญ่, มีก้นงาม
กลลคหณน : นป. ตะกอนโคลนที่ก้นแม่น้ำ
ฑสน : (นปุ.) การกัด, การขบ, การต่อย ( ใช้ เหล็กไนที่ก้นจี้เอา ), การคาบ, การเคี้ยว. ยุ ปัจ.
ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
ปตฺตมณฺฑล : นป. บริเวณก้นบาตร, ก้นบาตร
ปตฺตมูล : นป. ก้นบาตร
เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
มคฺคุร : (ปุ.) ปลาลำพัน ชื่อปลาชนิดหนึ่ง มีครีบหลังและครีบก้นไปรวมกับครีบหาง. ปลาดุกลำพัน ก็เรียก.
อวเลขนกฏฺฐ : (นปุ.) ไม้ชำระ (ไม้เช็ดก้นที่ภิกษุใช้).
อวเลขนปีฐร : (ปุ.) หม้อน้ำชำระ, หม้อใส่น้ำสำหรับล้างก้นเมมื่อถ่ายอุจจาระ.
อาจาม : (ปุ.) ข้าวตัง.คือข้าวสุกที่ติดเป็นแผ่นเกรียมอยู่ที่ก้นหม้อหรือกะทะ.อาปุพฺโพ, จมุอทเน, โณ.
อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
กนี : (อิต.) เด็กหญิง, กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, อี. ส. กนี.
กกฺกน : (วิ.) ขัดสี, ถูตัว.
โกน : (ปุ.) ไหมโยง (ไหมสำหรับผูก)?
ตกฺกน : นป. การตรึก, เหตุผล
ปจฺโจสกฺกน : นป. การล่าถอย, การถอยกลับ, การถอยออกมา, การหด
ปริสกฺกน : นป. ความพยายาม, ความตะเกียกตะกาย, ความทดลอง
พิฬารนิสฺสกฺกน (มตฺต) : ค. (ที่มีประมาณ) พอแมวลอดได้
องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
อนุปริสกฺกน : นป. การเวียนรอบ, การตะเกียกตะกาย; ความพยายาม
อปสกฺกน : นป. การหลีกไป, การหลบไป
โอกน : ป. แมลงหรือสัตว์เล็กๆ
โอสกฺกน : (นปุ.) ความท้อถอย, ความท้อแท้, ความอ่อนแอ, ความถอยหลัง. โอปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, ยุ.
กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.
กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
กนก : (นปุ.) ทอง, ทองคำ, กนก. กนฺ ทิตฺติ คติกนฺตีสุ, ณฺวุ. ส. กนก.
กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
โกกนท โกกนุท : (นปุ.)บัวแดง,โกกนุท.วิ.โกเก นาทยตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.โกกปุพฺโพ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ.อภิฯ ลง ณ ปัจ. เก กนตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โท, อสฺโส. ส. โกกนท.
จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
จห : (ปุ.) ความตระเกียกตระกาย, ความพยา ยาม, ความสรรเสริญ. จหฺ ปริสกฺกนปริก- ตฺถเนสุ, อ.
ติณปาทป : (ปุ.) ต้นไม้จำพวกติณชาต ( ไม่มี แก่น ) คือ นาลิเกร ตาฬี เกตกี ขชฺชุรึ ปูคหินตาล.
วิตกฺก : ป., วิตกฺกน นป. การตรึก