ปริโยทปนา : อิต. ความผ่องแผ้ว, ความบริสุทธิ์
ปสนฺนตา : อิต. ความเป็นของผ่องใส, ความบริสุทธิ์
ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
สชฺฌน : (นปุ.) ความสะอาด, ความหมดจด, ความบริสุทธิ์, ความผุดผ่อง. สุธฺ โสเจยฺเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
ปริโสธน : นป. ความบริสุทธิ์, การชำระล้าง
โวทาน : นป. ความบริสุทธิ์, ความผ่องแผ้ว
นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
อเนฬ : ค. ๑.ไม่มีโทษ, ไม่มีความผิด;
๒. บริสุทธิ์
กมฺมวิสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งกรรม
กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
ทกฺขิณาวิสุทฺธิ : อิต. ความหมดจดแห่งทักษิณา, ความบริสุทธิ์แห่งไทยธรรมที่นำมาถวาย
ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ : อิต. ทิฏฐิวิสุทธิ, ความหมดจดแห่งทิฐิ, ความเห็นบริสุทธิ์, ความเห็นถูกต้อง
ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
ปสีทน : นป., ปสีทนา อิต. ความเลื่อมใส, ความศรัทธา, ความยินดี, ความสะอาดความบริสุทธิ์
ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
มลภาว : (ปุ.) ความไม่บริสุทธิ์.
มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
อพฺภาน : (นปุ.) การเรียกเข้า, การชักกลับมา, การรับรอง, ความรับรอง, อัพภาน.การสวดเมื่อภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสสซึ่งได้ประพฤติมานัสครบ๖ราตรีหรือประพฤติมานัสและอยู่ปริวาสแล้วเพื่อให้กลับเป็นผู้บริสุทธิ์เรียกว่าสวดอัพภาน.
อพฺเภติ : ก. อัพภาน, เรียกกลับมา, เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติอยู่ปริวาสแล้วให้กลับเข้ามาเป็นผู้มีความบริสุทธิ์
อสุจีก : นป. ความไม่บริสุทธิ์สะอาด, กิเลสเครื่องเศร้าหมอง
อาชีวปริสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งการเลี้ยงชีพ
นิกสาว : ค. ปราศจากอาสวะ, บริสุทธิ์
นิทฺธมติ : ก. ขจัดออก, ปัดออก, เป่าออก, สะอาด, บริสุทธิ์
นิทฺโธต : ค. ซึ่งล้างแล้ว, อันซักแล้ว, อันชำระแล้ว, อันลับแล้ว, อันสะอาด, บริสุทธิ์
นิทฺโธวติ : ก. ล้าง, ซัก, ชำระ, ทำให้สะอาด, บริสุทธิ์
นิมฺมล : ค. ซึ่งไม่มีมลทิน, สะอาด, บริสุทธิ์
เนล, (เนฬ) : ค. สะอาด, บริสุทธิ์
ปฏิมุตฺต : ค. หมดจด, บริสุทธิ์
ปริโยทาต : ค. ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์
ปริสุชฺฌติ : ก. หมดจด, บริสุทธิ์
ปสีทติ : ก. เลื่อมใส, ศรัทธา, ยินดี, สะอาด, บริสุทธิ์
ปาวก : ๑. ป. ไฟ ;
๒. ค. สว่าง, สดใส, บริสุทธิ์
มฏฺฐ : (วิ.) เกลี้ยง, เลี่ยน, เตียน, ราบ, สะอาด, บริสุทธิ์, มชฺ สุทฺธิยํ, โต.แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ ชฺ.
วิสท : ค. ฉลาด, บริสุทธิ์
สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
อกาจ : ค. สะอาด, บริสุทธิ์
อวฺยาเสก : ค. ไม่ระคน, ไม่คลุกเคล้า ; บริสุทธิ์
อสงฺกิลิฏฺฐ : ค. ไม่เศร้าหมอง, บริสุทธิ์
โอทาตก : ค. ขาว, บริสุทธิ์; ผู้นุ่งขาวห่มขาว
ปริสุทฺธิ : อิต. ความหมดจด
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
ชุ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว, ใส, งาม, บริสุทธิ์. ชุ ทิตฺติยํ, อ.
ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
สุกฺก : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด, สว่าง, สุกใส, ดี, ผ่อง, บริสุทธิ์.