กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา;
๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
ถาม : (ปุ.) กำลัง, กำลังใจ, เรี่ยวแรง, ความแก่กล้า. วิ. ติฏฺฐนฺติ เอเตนาติ ถาโม. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โม. ฐสฺส ถตฺตํ หรือ ตั้ง ถา ธาตุ ม ปัจ.
ถามคตทิฏฺฐิก : ค. ผู้มีทิฐิอันถึงความแข็งแรง, ผู้มีความเห็นผิดแรงกล้า
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
มกฺข : (ปุ.) ความกล้าแข็ง, ความกลบเกลื่อน, ความลบหลู่, ความลบหลู่คุณท่าน, ความหักล้าง. มกฺขฺ มกฺขฺเน, อ.
มหาวีร : (วิ.) มีความเพียรมาก, มีความกล้ามาก.
มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
วิกฺกนฺต : นป. ความกล้าหาญ
เวสารชฺช : นป. ความเป็นผู้แกล้วกล้า
สารชฺช : (นปุ.) ความครันคร้าม, ความไม่แกล้วกล้า. สารท+ณฺย ปัจ. สกัด วิ. สารทสฺส ภาโย สารชฺชํ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
อุสฺสาห : (ปุ.) ความเพียร, ฯลฯ, ความอาจหาญ, ความงอกขึ้น, ความกล้าขึ้น, ความอดกลั้น, อุสสาหะ, อุสาหะ, อุตสาหะ. วิ. อุ ทุกฺข ลาภํ สหตีติ อุสสาโห. อุปุพฺโพ, สหฺ สหเณ, โณ, อุกาโร ทุกฺขลาเภ. ส. อุตฺสาห.
ขร : (วิ.) เฉียบแหลม, กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, หยาบ, ขรุขระ. ขรฺ วินาเส, อ.
ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
เปสล : (วิ.) มีฝีมือ, เก่ง, ฉลาด, เชี่ยวชาญ, ชำนาญ, ขยัน. ปิสฺ หึสาพลทานนิเกตเนสุ, อโล.
วิสหติ : ก. อดทน, กล้า, เสี่ยง
สุร : (วิ.) เป็นใหญ่, กล้า, กล้าหาญ, เข้มแข็ง, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง. สุรฺ อิสฺสริยทิตฺตีสุ, อ.
อภีต, อภีรุ, อภีรุก : ค. ไม่กลัว, กล้า
อุฏฺฐา น : (วิ.) ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, กล้า, ขยัน, หมั่น, เพียร.
โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
ติกฺข ติกฺขิณ ติขิณ : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้า แข็ง, เข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน. ศัพท์ต้น ข ปัจ. แปลง ชฺ เป็น กฺ ศัพท์ที่ ๒ และ ๓ อิน ปัจ. แปลง น เป็น ณ แปลง ชฺ เป็น ขฺ ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน กฺ.
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
พหล : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ใหญ่, หนา, ทึบ, ล่ำ, กล้า. พหฺ วุทฺธิมฺหึ, อโล.
วีร : ค. กล้า
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว