นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
นนฺทิ : (อิต.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ฯลฯ. วิ. นนฺทนํ นนฺทิ อิ ปัจ. ส. นนฺทิ.
รมณ : นป. ความยินดี, ความเพลิดเพลิน
อานนฺทิย : ๑. นป. ความยินดี, ความเพลิดเพลิน;
๒. ค. พึงยินดี, พึงเพลิดเพลิน
อานนฺที : ๑. อิต. ความยินดี, ความเพลิดเพลิน ;
๒. ค. ยินดี, ร่าเริง, ปลื้มใจ
อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
อานนฺน : (ปุ.) ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความปลื้มใจ.อาปุพฺโพ, นนฺทฺสมิทฺธิยํ, อ.ทสฺสโน.
อภิลาส : (ปุ.) อภิลาสะชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความโลภยิ่ง, ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน.อภิปุพฺโพ, ลสฺกนฺติยํ, โณ.ส.อภิลาษ.อภิลาส.
ขิฑฺฑปโทสิก : ค. ผู้อันความเพลิดเพลินประทุษร้าย คือ ได้รับโทษจากการเล่น
ขิฑฺฑรติ : อิต. ความเพลิดเพลินในการเล่น
นนฺทิชห : ป. การละความเพลิดเพลิน, สละความสนุกสนาน
นนฺทิภว : ป. ความมีอยู่, ความดำรงแห่งความเพลิน, ความเพียบพร้อมไปด้วยความเพลิดเพลิน
นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
อปฺปสฺสาท : ค. มีความเพลิดเพลินน้อย, มีความยินดีนิดหน่อย
อภิรมาปน : นป. ความให้ยินดียิ่ง, ความให้เพลิดเพลิน
อสฺสาท : (ปุ.) ความยินดี, ความสำราญ, ความเพลิน, ความเพลิดเพลินความชอบใจ.
อสฺสาทน : (นปุ.) ความยินดี, ความสำราญ, ความเพลิน, ความเพลิดเพลินความชอบใจ.
อานนฺท : (ปุ.) ความเพลิดเพลินโดยยิ่ง, ความเพลิดเพลินยิ่ง, ความยินดีมาก, ความปลื้มใจ, ความรื่นเริง.วิ. อา ภุโสนนฺทยตีติอานนฺโทอาปุพฺโพ, นนฺทฺนนฺทเน, อ.
อานนฺทน : (นปุ.) ความเพลิดเพลินโดยยิ่ง, ฯลฯกิริยาดี, การไต่ถามทุกข์สุข.ยุปัจ.
นนฺทติ : ก. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
นนฺทน : (วิ.) สำเร็จ, เพลิดเพลิน, ยินดี, รื่นรมย์, รื่นเริง, สนุก, เป็นที่เพลิดเพลิน, ฯลฯ.
นนฺท, นนฺทก : ค. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
สาต : (วิ.) จืด, หวาน, อร่อย, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, พึงใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน, สุข. ส. ศาต.
สุนนฺท : (วิ.) เป็นที่ยินดี, เป็นที่เพลิดเพลิน, ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, สบาย.
อสฺสาเทติ : ก. พอใจ, ยินดี, เพลิดเพลิน, สบายใจ
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด