ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
อาโยค : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องประกอบยิ่ง, ความเพียร, การรัดเข่า, ผ้ารัดเข่า.อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
อารมฺภ : (ปุ.) ความเริ่มต้น, ความริเริ่ม, ความเริ่มแรก, ความปรารภ, ความเพียร, การเริ่ม, การเริ่มต้น, ฯลฯ.อาบทหน้ารภฺธาตุในความเริ่มพยายามอปัจ. นิคคหิตอาคม.
อุสฺสหน : นป. อุตสาหะ, ความเพียร, ความอาจ, ความสามารถ
วิริย : นป. ความเพียร
นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
ยตฺต ยตฺร : (นปุ.) ความเพียร. ยตฺ ปยตเน, ต, ตฺรณฺ ปัจ.
อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
โอปกฺกมิก : (วิ.) มีความเพียร, เกิดเพราะ ความเพียร.
ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
อาตาปน : นป. ความเพียร, เครื่องเผากิเลสให้เร่าร้อน, การทรมานตัวเพื่อย่างกิเลส
อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
อุสฺสาห : (ปุ.) ความเพียร, ฯลฯ, ความอาจหาญ, ความงอกขึ้น, ความกล้าขึ้น, ความอดกลั้น, อุสสาหะ, อุสาหะ, อุตสาหะ. วิ. อุ ทุกฺข ลาภํ สหตีติ อุสสาโห. อุปุพฺโพ, สหฺ สหเณ, โณ, อุกาโร ทุกฺขลาเภ. ส. อุตฺสาห.
โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
ชาคริยานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียร, การประกอบความเพียรเพื่อชำระใจให้ หมดจด.
ตปสี ตปสฺสี : (ปุ.) คนมีความเพียรเผาบาป, คน มีตบะ, ภิกษุ. วิ. สี ปัจ. ศัพท์หลังแปลง สี เป็น สฺสี อิต. ตปสฺสินี นปุ. เป็น ตปสฺสิ.
ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
ทุกร ทุกฺกร : (นปุ.) กรรม...อันได้โดยยาก, ความเพียรอัน... ทำได้โดยยาก. ศัพท์ต้น ไม่ซ้อน กฺ.
ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
นิพฺพิริย : ค. ซึ่งขาดวิริยะ, หมดความเพียร, ขี้เกียจ, เชื่องช้า, อ่อนแอ
นิรีหก : (วิ.) มีความเพียรออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อีหา รฺ อาคม ก สกัด.
ปธานฆร : นป. เรือนเป็นที่กระทำความเพียร
ปธานวนฺตุ : ค. ผู้มีความเพียร
ปธานิก : ค. ผู้บำเพ็ญเพียร, ผู้ประกอบความเพียร
ปธานิย : ค. ซึ่งเนื่องด้วยความเพียร, ซึ่งควรประกอบความเพียร
ปธานิยงฺค : นป. องค์แห่งพระภิกษุผู้ควรประกอบความเพียร, คุณสมบัติของผู้ที่จะทำความเพียร
ปรกฺกมาธิคตสมฺปท : (วิ.) ผู้มีสมบัติอันได้แล้ว ด้วยความเพียร วิ. ปรฺกกเมน อธิคตาสมฺปทา เยหิ เต ภวนฺติ ปรฺกกมาธิคตสมฺปทา. รูปฯ ๓๔๑.
ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
ปรายน : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆเป็นใหญ่ (ตปฺปธาน), ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นเบื้องหน้า (ตปฺปร), ผู้ไป ในเบื้องหน้า, ผู้มีความเพียร ( ปร+อายน ).
ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
พฺยปฺปถ : ค. ผู้มีความขวนขวาย, ผู้ขยัน, ผู้หมั่นเพียร
มหาธิติ : (วิ.) มีความเพียรใหญ่, มีความเพียรมาก.
มหาปธาน : (ปุ. นปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้ใหญ่.
มหาวีร : (วิ.) มีความเพียรมาก, มีความกล้ามาก.
มิจฺฉาวายาม : (ปุ.) ความเพียรผิด, ความเพียรที่ผิดจากคำสั่งสอนของศาสนา.
โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
สมฺมปฺปธานวิริย : (นปุ.) ความเพียรอัน...ตั้งไว้โดยชอบ, ฯลฯ.
สมฺมาวายาม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเพียรชอบ วิ. สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ สมฺมาวายาโม. สมฺมาปุพฺโพ, วายมฺ อีหายํ, โณ. ความเพียรชอบ. วิ. สมฺมา วายาโม สมฺมาวายาโม. วิเสสยบุพ, กัม.
สาตจฺจการี : ป. ผู้กระทำความเพียรติดต่อกันไป
อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.