กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
ฉาเทติ : ก. ปกปิด, กำบัง, ห่อหุ้ม; ให้ดีใจ, ให้ยินดี, ชอบ
ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
ยุตฺต ยุตฺตก : (วิ.) ประกอบ, ควร, สมควร, ชอบ, ถูก, ถูกต้อง. ยุชฺ โยเค, โต ทฺวิตฺตํ, ชโลโป.
โยค : (วิ.) มั่นคง, แข็งแรง, ควร, สมควร, ชอบ, ถูก. ถูกต้อง. ยุชฺ สมาธิมฺหิ, โณ, ชสฺส โค.
สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
สาธุ : (วิ.) ยังประโยชน์ให้สำเร็จ, เป็นความดี, เป็นที่ชอบใจ, งามดี, อันดี, ดีนัก, ถูกต้อง, เหมาะ, ควร, สมควร, ชอบ, ประเสริฐ, เลิศ, สาธร. ส. สาธุ.
สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
อปณฺณก : (วิ.) ไม่ผิด (ไม่ให้เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อปลายมือ), ถูก, ชอบ, แน่แท้, แท้จริง.วิ.วิรุทฺธโวหาเรนนปณาเมตีติอปณฺณโกนปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหารตฺถุตีสุ, ณฺวุ.
อามอามนฺตา : (อัพ. นิบาต) พระเจ้าข้า.เออ, เออก้อ, ชอบ, ใช่, ถูกแล้ว.
อวิรุทฺธ : (วิ.) ไม่ผิด, ไม่ขัดข้อง, สะดวก, ถูก, ชอบ. วิ. น วิรุชฺฌเตติอวิรุทฺโธ. น.วิ ปุพฺโพรุธิอาวรเณ, โต.ส.อวิรุทฺธ.
อุปฺปาตก : (ปุ.) หมัด สัตว์เล็กชนิดหนึ่ง ชอบ อยู่ตามหมาและแมว เป็นต้น, ไร สัตว์เล็ก ชนิดหนึ่งที่ชอบอยู่ที่ขนปีกไก่ เป็นต้น.
อุปาย : (วิ.) ควร, สมควร, ชอบ.
อุปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ชอบด้วย อุบาย, อุปาย+อิก ปัจ. ควร, สมควร, ชอบ. อิก ปัจ. สกัด.
กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
กายสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติดีด้วยกาย, ความประพฤติชอบด้วยกาย, ความประพฤติดีทางกาย. กายสิทฺธิ
กายสุจริต : นป. กายสุจริต, ความประพฤติชอบทางกาย
กึวาที : ค. ผู้ชอบกล่าวถึงอะไร, ผู้มีความเห็นว่าอย่างไร
กูฏเวที : ป. คนชอบกล่าวเท็จ, ผู้ใส่ร้าย
ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.
คามปูฏว : (ปุ.) ชาวบ้านผู้มีการทำให้บริสุทธิ์, ชาวบ้านผู้มีการชำระผิว, ชาวบ้านผู้ชอบ แต่งผิว. คาม+ปูฏว.
คิชฺฌ : (ปุ.) แร้ง ชื่อนกชนิดหนึ่ง ตัวใหญ่มาก หัวแดงเป็นส่วนมากชอบกินสัตว์ที่ตายแล้ว วิ. เคธตีติ คิชฺโฌ. คิธฺ อภิกํขายํ, โย, ธฺยสฺส โฌ, อสรูปทฺวิตฺตํ, ฌปจฺจโย วา, ธสฺส โช.
จรณวนฺตุ : ค. ผู้มีจรณะ, ผู้มีความประพฤติชอบ
จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
จิตฺตรุจิต : ค. ซึ่งจิตชอบ, ซึ่งเป็นที่พอใจ
ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
ถุติ : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยกย่อง, การสรรเสริญ, ความชม, ฯลฯ, คำชม, ฯลฯ, ความชอบ, สดุดี. วิ. ถวนฺ ถุติ. ถุ อภิตฺถเว, ติ เป็น ปุ บ้าง. ส. สฺตุติ.
ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
ทานาธิการ : ป. หน้าที่รับผิดชอบในการบริจาคทาน, การจัดการในเรื่องการให้ทาน
ทิฏฺฐิสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยทิฐิ, สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
ทิฏฺฐิสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทิฐิ, ผู้สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
โทสาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความไม่ แช่มชื่น, ความลำเอียงเพราะความไม่ชอบ, ความลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน, โทสาคติ. อคติ ๔ ข้อที่ ๒.
ธมฺมรุจิ : (อิต.) ความพอใจในธรรม, ความชอบใจนะรรม, ความยินดีในธรรม.
ธมฺมโสณฺฑ : ค. ผู้ชอบธรรม, นักธรรมะ
ธุรนฺธร : ค. ผู้ทรงไว้ซึ่งธุรการงาน, ผู้รับภาระหน้าที่, ผู้รับผิดชอบการงาน
นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
นหานครุก : ค. หนักในการอาบน้ำ, ชอบอาบน้ำ, นิยมการอาบน้ำ
นิกฺขิตฺต : ๑. กิต. เก็บไว้แล้ว, วางไว้แล้ว,
๒. ค. ผู้ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่รับผิดชอบ, ผู้ได้รับแต่งตั้งให้รับผิดชอบ
นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
ปฏิญฺญา : อิต. ปฏิญญา, คำรับรอง, คำมั่น, สัญญา, การตกลง, การให้การเห็นชอบ, การอนุญาต
ปรวมฺภิตา : อิต. ความเป็นผู้มักข่มเหงผู้อื่น, มีนิสัยชอบข่มเหงคนอื่น
ปรวมฺภี : ค. ผู้มักข่มผู้อื่น, ผู้มีนิสัยชอบดูหมิ่นผู้อื่น
ปวาทก, ปวาทิย : ค. ผู้ชอบพูด, ชอบอภิปราย, ชอบโต้
ปุริมสิทฺธิ : (อิต.) สิทธิ์อันมีในก่อน, บุริสิทธิ์ คือ อำนาจอันชอบธรรมที่เรียกได้ก่อนสิทธิธรรมดา.
โปฏคล : (ปุ.) ต้นเป้ง, หญ้าเลา หญ้าดอกเลา (ต้นไม้พวกอ้อดอกสีขาวมอๆ), หญ้าปล้อง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งต้นเป็นข้อๆ ในข้อมีไส้เป็นปุยขาว ชอบขึ้นในน้ำ, ต้นอ้อ, ไม้อ้อ, ต้นเป้ง. วิ. ปุฏ มญฺญมญฺญสํสคฺคํ คจฺฉตีติ โปฏคโล. ปุฏปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ, อุสฺโส, มสฺส โล.
ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.