Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชานุ , then ชาน, ชานุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชานุ, 36 found, display 1-36
  1. ชานุ, ชานุ : นป. เข่า
  2. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  3. ชาณุผลก ชานุผลก : (นปุ.) สะบ้าหัวเข่า.
  4. ชาน, ชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจ, ความจำได้, ความชำนาญ
  5. ชาน ชานน : (นปุ.) อันรู้, ความรู้, ญา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ญา เป็น ชา ยุ เป็น อน, อานน. ส. ชานน.
  6. อสมฺปชญฺญ, - ชาน : ค. ไม่มีสัมปชัญญะ, ไม่มีสติความระลึกได้
  7. ชานปท : (วิ.) ผู้อยู่ในชนบท วิ. ชนปเท วส- นฺตีติ ชานปทา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  8. ชานนก : (วิ.) ผู้รู้. ณวุ ปัจ แปลงเป็น อานนก. รูปฯ ๕๕๖.
  9. ชานนตา : อิต. ความรู้
  10. ชานนีย : ค. อันเขาพึงรู้, สิ่งที่ควรรู้, ซึ่งน่ารู้
  11. ชานปท, ชานปทิก : ค. ชาวชนบท, ชาวบ้านนอก
  12. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  13. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  14. ชานิย ชานี : (วิ.) ผู้มีความเสื่อม, ฯลฯ. อิยปัจ. อี ปัจ.
  15. ชีวนชานนฺทกร : (ปุ.) พระอาทิตย์ ( ทำความเบิกบานแก่ดอกบัว).
  16. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  17. ทุชฺชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
  18. ทุราชาน : ค. ซึ่งรู้ทั่วถึงได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
  19. ปชานนา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
  20. ปรจิตฺตชานน : (นปุ.) ความรู้จิตของบุคคล อื่น, ฯลฯ.
  21. สญฺชานน : นป. การรู้จัก, ความรู้สึก
  22. สมฺปชาน : (วิ.) รู้ทั่วพร้อม, รู้รอบคอบ, รอบรู้, รู้สึกตัวรู้ตัว. วิ. สมฺปชานาตีติ สมฺปชาโน. สํ ป ปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ, ญาสฺส ชา.
  23. อนภิชานน : (นปุ.) ความไม่รู้ยิ่ง.
  24. อภิชาน, อภิชานน : นป. ความจำได้, การรู้ยิ่ง
  25. อวชานน : (นปุ.) ความดูหมิ่น, ความดูถูก, ความดูแคลน.อวปุพฺโพ, ญาญาเณ, ยุ.
  26. อวิชาน : ก. วิ. ไม่รู้, ไม่เข้าใจ
  27. อาชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจชัด
  28. คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
  29. จุลฺล : (ปุ.) หงอนนก?, เตา, เตาไฟ, เชิงกราน ชื่อเตาไฟทำด้วยดิน ยกตั้งได้ มีชานสำ- หรับวางฟืน. จิ จเย, อุโล, ทฺวิตฺตํ.
  30. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  31. ปทฺวารคาม : ป. หมู่บ้านแถบประตูเมือง, ชานพระนคร
  32. เวที : อิต. ผู้รู้; นักปราชญ์; ชานชาลา, แท่นบูชา
  33. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  34. อวญฺญา : (อิต.) ความดูหมิ่น, ฯลฯ, ความไม่เห็นแก่กัน. วิ. อวชานนํ อวญฺญา.อวปุพฺโพ, ญา ญาเณ, อ. อภิฯลงกฺวิปัจ.
  35. อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
  36. อาลินฺท : (ปุ.) ระเบียง, หน้ามุข, พะไล, เพิง. วิ. อลิ สาขา อินฺโท เอตฺถาติ อาลินฺโท. ทีฆะ. ส. อาจินฺท ชานบ้าน. อาลี
  37. [1-36]

(0.0113 sec)