Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 1-50
  1. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  2. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  3. เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
  4. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  5. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  6. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  7. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  8. ปฏิมุข : ค. ตรงข้าม, ซึ่งอยู่เฉพาะหน้า, ซึ่งเผชิญหน้า, เฉพาะหน้า, ต่อหน้า
  9. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  10. ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
  11. ปรมฺมุข : ค. มีหน้าในทางอื่น, ซึ่งหันหน้าไปทางอื่น
  12. พุทฺธงฺกุร : ป. หน่อเนื้อแห่งพุทธะ, ผู้ซึ่งจะเป็นพระพุทธเจ้าในกาลภายภาคหน้า
  13. เภทปุเรกฺขารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ทำซึ่งการแตกกันในเบื้องหน้า.
  14. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  15. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  16. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  17. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  18. อฑฺฒรุก (อฑฺฒทุก) : นป. วิธีแต่งผมซึ่งปล่อยให้ยาวลงถึงหน้าท้อง
  19. อติเวล : (วิ.) ล่วงแล้วซึ่งเวลา.วิ.เวลํอติกฺกนฺโตอติเวลโล.กลับบทหน้าไว้หลัง.
  20. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  21. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  22. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  23. อุทธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ส่วนแห่ง แผ่นดินที่ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล. อุทกปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ, อุทกสฺส อุโท (แปลง อุทก เป็น อุท). ถ้าใช้ อุท เป็นบทหน้า ก็ไม่ ต้องแปลง.
  24. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  25. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  26. ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
  27. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  28. ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  29. วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
  30. อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  31. อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
  32. กาฬานุสารี : (ปุ.) กะลำพัก ชื่อแก่นไม้ ซึ่ง เกิดจากต้นไม้บางชนิดซึ่งมีอายุมาก เช่น ต้นสลัดไดเป็นต้นมีกลิ่นหอม.
  33. ธตรฏฺฐ : (ปุ.) ธตรฐ, ธตรษฐ์ ท้าว ธตรษฐ์ ชื่อท้าวโลกบาลประจำทิศตะวันออก ซึ่ง เป็นอธิบดีแห่งคนธรรพ์ วิ. ธาริดตํ รฏฺฐ มเนนาติ ธตรฏฺโฐ.
  34. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  35. กิญฺจลุก : (ปุ.) ไส้เดือน วิ. กิญฺจิจลตีติ กิญฺจลุ โก. กิญฺจิปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อุโก, จิโล โป. อภิฯ หน้า ๗๐๙.
  36. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  37. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  38. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  39. ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
  40. พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
  41. ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
  42. อวงฺค : (นปุ.) หน้า.
  43. อาโลกสนฺธิ : (อิต.) ช่องลม, หน้าต่าง. วิ. อาโลกานํ อาตปานํ ปวิสนฏฺฐานํ สนฺธิ ฉิทฺทนฺติ อาโลกสนฺธิ. (หน้า ๑๐๒)
  44. อุณฺหิต : (นปุ.) มงกุฏ, หมวก, เครื่องประดับ หน้า. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โต, อิอาคโม.
  45. ทฺวิธาคต : ซึ่งกลายเป็นสองส่วน, ซึ่งเป็นสองเสี่ยง
  46. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  47. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  48. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  49. กกฺกุ : นป. แป้งผัดหน้า
  50. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1636

(0.1230 sec)