ต : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
จีร จีริก จีรี : (ปุ.) เรไร, จักจั่น, จิ้งหลีด. วิ. จีรียติ สทฺทายตีติ จีรี. จีริ หึสายํ, อี. เป็น อิต. ก็มี.
อารกฺขยฏฺฐิ : (อิต.) ไม้ตระเว็ด(ตระเหว็ด), ไม้เตว็ดไม้เจว็ตก็เรียก.
ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
ตทุเปตนิสา : (อิต.) คืนเดือนหงาย, คืนที่ค้น หาสิ่งที่ต้องการนั้นได้. ต+อุเปต+นิสา ทฺ อาคม.
ตโปทา : (อิต.) ตโปทา ชื่อแม่น้ำในเขตเมือง ราชคฤห์.
ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
ตขณิก : (วิ.) อันเป็นไปในขณะนั้น
ตจรส : ป. รสอันเกิดแต่เปลือก, รสของเปลือก
ตจุพฺภว : ค. อันเกิดแต่เปลือกไม้, ทำจากเปลือกไม้
ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
ตโตปฏฺฐาย : อ. จำเดิมแต่นั้น, ตั้งแต่นั้น
ตโตปร : อ. เบื้องหน้าแต่นั้น, ตั้งแต่นั้นมา
ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
ตถาภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนั้น, ฯลฯ.
ตถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างนั้น, ฯลฯ, มีอย่างนั้น เป็นรูป, ฯลฯ.
ตถาวาที : ค. ผู้กล่าวเช่นนั้น, กล่าวอย่างนั้น
ตถาวิธ : ค. เหมือนอย่างนั้น, เช่นนั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น
ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
ตทนฺตเร : ก. วิ. ในระหว่างนั้น
ตทนุรูป : ค. สมควรแก่สิ่งนั้น, เหมาะสม
ตทาตฺต : นป. กาลนั้น, เวลานั้น
ตทารมฺมณ : นป. อารมณ์นั้น
ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
ตโนติ : ก. แผ่ออก, ขยายออก, เหยียดออก
ตปติ : ก. เผา, ย่าง, ทรมาน, ส่องแสง
ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
ตมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่หนึ่งนั้น, กาลครู่หนึ่งนั้น.
ตโมตมปรายน : (วิ.) ผู้มีมืดมาแล้ว มีมืดเป็น ที่ไปในเบื้องหน้า, ผู้มืดมาแล้วมืดไป.
ตโมถูต : (อิต.) เป็นโลกมืดแล้ว, เป็นโลกมืดบัง เกิดแล้ว.
ตยาทิ : (วิ.) ว่ากระนี้เป็นต้น, มีคำว่า กระนี้ เป็นต้น.
ตรณฺฑ : ไตร. เรือ, แพ
ตรติ : ก. ข้าม, ผ่าน, รีบร้อน
ตวการณ : (นปุ.) เหตุแห่งท่าน.
ตสติ : ก. ไหว, สะดุ้ง, กระหาย, อยาก
ตสิณ ตสิน : (วิ.) ผู้ทำความหวาด, ฯลฯ.
ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
ตสิณา (นา) : อิต. ความกระหาย, ความอยาก
ตสิต : ค. ไหว, สะดุ้งแล้ว, กระหาย, อยาก
ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
ตทา ตทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนั้น,ครั้งนั้น, คราวนั้น, เมื่อนั้น. วิ. ตสฺมึ กาเล ตทา ตทานิ วา. ต ศัพท์ ทา, ทานิ ปัจ. ตทา ใช้เป็นประธานบ้าง แปลว่า อ. กาลนั้น.
ธุตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) คนล่อลวง, ธุพฺพิ หึสายํ, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.