อภิสนฺทหติ : ก. เชื่อม, ต่อ, รวมกัน, ทำให้พร้อมเสร็จ
หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
กกฺกร : ป. ไก่ป่าที่ใช้เป็นไก่ต่อ; กระจก, คันฉ่อง
กฏิสนฺธิ : อิต. ที่ต่อของบั้นเอว
กปฏ : (ปุ.) ความคด, ความโกง, ความทรยศ, กบฏ ขบถ คือ การประทุษร้ายต่อราชอา- ณาจักร. วิ. กุจฺฉิเตน อากาเรน ปฏตีติ กปโฏ. ปฏฺ คติยํ, อ. แปลง กุ เป็น ก หรือแปลง กุ เป็น กา แล้วรัสสะตามนัย อภิฯ ส. กปฏ.
กมฺมโธเรยฺย : ค. ผู้ควรเอาธุระในการงาน, ผู้ควรอดทนต่อหน้าที่
กากภีรุ : ป. นกที่กลัวต่อกา, นกฮูก, นกเค้าแมว
กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
โกฏิปโกฏิ : (อิต.) โกฏิปโกฏิ ชื่อมาตรานับต่อ จาก ปโกฏิ วิ. ปโกฏิสตสหสฺสานํ สตํ โกฏิปโกฏิ.
โกธสามนฺต : (วิ.) ใกล้ต่อความโกรธ, ฯลฯ.
โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
ขนฺธสนฺตาน : (นปุ.) ความสืบต่อแห่งขันธ์.
คณฺฑู : อิต. ปม, ปุ่ม, ที่ต่อ
ฆฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อประสาน, ประยุกต์
ฆฏน : (วิ.) หมั่น, ขยัน, รวมกัน, ติดต่อกัน, สืบต่อ, เบียดเบียน.
ฆฏยติ : ก. ให้พยายาม, ให้สืบต่อ
ฆฏิต : ค. อันพยายามแล้ว, อันสืบต่อแล้ว
ฆฏียติ : ก. อันเขาพยายาม, อันเขาสืบต่อ
ฆเฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อเนื่อง
ฆรสนฺธิ : อิต. ที่ต่อหรือรอยแยกแห่งเรือน
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
จวติ : ก. จุติ, เคลื่อน, ตาย (จากภพหนึ่งไปเกิดในภพอื่นต่อไป), ดับไป
จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
จิรรตฺตาย : (อัพ. นิบาต) ต่อราตรีนาน, เพื่อ ราตรีนาน. อภิฯ.
เจตก : (ปุ.) สัตว์อันเขาส่งไป. สัตว์สำหรับต่อ ( สัตว์พวกเดียวกัน), สัตว์ต่อ, จิฎฺ เจฏฺ วา เปสเน, จิต เปสนีเย วา, โณ, สตฺเถ โก. หรือลง ณฺวุ ปัจ. ถ้าลง ณฺวุ ก็ไม่ต้องลง ก สกัด.
เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
เชฏฺฐาปจายน : นป. การอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่
เชฏฺฐาปจายี : ค. ผู้อ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่
ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
ตปชิคุจฺฉา : อิต. ความรังเกียจต่อการบำเพ็ญตบะ
ตพฺพิปกฺข : ค. ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งนั้น, ตรงกันข้ามกับสิ่งนั้น
ตมปรายน : ค. มีความมืดเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีความมืดต่อไปคือไปสู่ทุคติ
ตาณ : (วิ.) ต่อต้าน, ต้านทาน, ป้องกัน, เลี้ยง, รักษา. ตา ปาลเน, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ.
ตายน : (นปุ.) การสืบต่อ, การติดต่อ, การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การระวัง. การป้องกัน การรักษา, ความสืบต่อ, ฯลฯ. ตายุ สนฺตานปาลเนสุ, ยุ.
- ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทารุสงฺฆาฏ : ป., ค. แพไม้, เรือ; ซึ่งต่อด้วยไม้, ซึ่งคาดด้วยไม้, ซึ่งสร้างด้วยไม้
ทิฏฺฐินิชฺฌานกฺขนฺติ : อิต. ความทนต่อการเพ่งด้วยทิฐิ, อดทนต่อการเพ่งพินิจเพราะทิฐิ, ความปักใจดิ่งด้วยทิฐิ
ทีปกกกฺกร : ป. นกกระทาต่อ
ทีปกติตฺติร : (ปุ.) นกกระทาต่อ.
ทีปกมิค : (ปุ.) เนื้อสำหรับต่อ, เนื้อต่อ.
ทุกฺขาสหนตา : อิต. ความไม่อดทนต่อความทุกข์, ความทนต่อความยากลำบากไม่ได้
ทูรกนฺตน : นป. การกำจัดให้ไปในที่ไกล, การถูกขับไล่ให้ได้รับความอดสู, การทรยศต่อประเทศชาติ
ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
ธรติ : ก. ทรงจำไว้, จำไว้, สวมใส่; เหลืออยู่, ต่อไป, มีชีวิตอยู่, เป็นอยู่
ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
ธุรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ย่อท้อต่อหน้าที่หรือการงาน