ธน : (นปุ.) เงิน, ทรัพย์, สิน (เงิน ทรัพย์), สินทรัพย์. สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ. อภิฯ วิ. มม อิทนฺติ ธนายิตพฺพํ สทฺทายิตพฺพนฺติ ธนํ. ธนฺ ธญฺเญ, สทฺเท วา, อ. เวสฯ ๔๘๗ วิ. ธนียติ อิจฺฉียตีติ ธนํ. ธนฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ธน, ทฺรวฺย.
ตป (โป) ธน : ค. ผู้บำเพ็ญตบะ, ฤษี, นักพรต
ธนภูติ : (วิ.) มีทรัพย์ วิ. ธน มสฺส ภวตูติ ธนภูติ.
ธนปาล : ป. ผู้รักษาทรัพย์, ผู้เฝ้าทรัพย์, ช้างธนบาล
ธนกิต ธนกฺกีต : (ปุ.) ทาสที่ถ่ายมาด้วยทรัพย์, ทาสที่ซื้อมาด้วยทรัพย์. วิ ธเนน กีโต ธนกีโต. ธนํ ทตฺวา ทาสภาวํ กโรตีติ วา ธนกีโต. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
ธนคม : ป. การมาของทรัพย์, กำไร
ธนติ : ก. เปล่งเสียง, ออกเสียง
ธนปติ : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่ในทรัพย์, เจ้าของทรัพย์, ธนบดี, ท้าวกุเวร.
ธนปราชย : ค. ผู้ปราชัยในทรัพย์, ผู้เสียทรัพย์
ธนโลภ : ค. ผู้อยากได้ทรัพย์ในทางที่ไม่ควร, ผู้โลภในทรัพย์, ผู้เห็นแก่ทรัพย์
ธนวนฺตุ : ค. ผู้มีทรัพย์
ธนสามิ : (ปุ.) เจ้าของแห่งทรัพย์, เจ้าของ ทรัพย์.
ธนเหตุ : ก. วิ. เพราะเหตุทรัพย์, เพราะเห็นแก่ทรัพย์
ธนิ : (ปุ.) เสียง. ธนฺ สทฺเท. อิ. รูปฯ ๖๖๓.
ธนุ : (นปุ.) ธนู วิ. ธนติ สทฺทํ กโรตีติ ธนุ. ธนฺ สทฺเท, อุ. หนุ. หิสายํ วา. อุ. หสฺส โธ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ. ส. ธนุ ธนุสฺ. ธนว.
นิทฺธน : (วิ.) มีทรัพย์ออกแล้ว, ไม่มีทรัพย์, จน, เข็ญใจ, ไร้ทรัพย์. ส. นิธน.
นิธน : (วิ.) มีความดีออกแล้ว, มีสิริออกแล้ว, ไม่มีความดี, ไม่มีสิริ. นิปุพฺโพ, ธนฺ ธญเญ, อ.
นิพนฺธน : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. นิสฺเสเสน อตฺตโน ผลํ พนฺธติ ปวตฺเตตีติ นิพนฺธนํ. นิปุพฺโพ, พธฺ พนฺธ พนฺธเน, ยุ. ส. นิพนฺธน.
นิรินฺธน : (วิ.) มีเชื้อออกแล้ว, ไม่มีเชื้อ, หมด เชื้อ, สิ้นเชื้อ, ไร้เชื้อ, ปราศจากเชื้อ. นิ+อินฺธน รฺ อาคม.
สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
อาพนฺธน : (นปุ.) การพัน, การผูกการมัด, เครื่องผูก. อาปุพฺโพ, พนฺธฺพนฺธเนอ, ยุ.ส.อาพนฺธอาพนฺธน.
อาโยธน : (นปุ.) ที่เป็นที่มารบ, การรบกัน, สนามรบ, สงคราม. วิ. อาทายยุชฺฌนฺเตตฺรา-ติอาโยธานํ.อาปุพฺโพ, ยุธฺสมฺปหาเร, ยุ.ส.อาโยธน.
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กมฺมนิพนฺธน : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยกรรม
กายพนฺธน : (นปุ.) ผ้าสำหรับผูกซึ่งกาย, ผ้า รัดประคดเอว, รัดประคดเอว, ประคดเอว.
กุลคนฺธน : ค. ผู้ทำลายตระกูล
โกธน : (นปุ.) ความกำเริบ, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
ขคาทิพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกมีเครื่องผูกแห่ง นกเป็นต้น.
เขตฺตโสธน : นป. การแผ้วถางนาหรือสวน, การบุกเบิกนาหรือสวน
คณพนฺธน : นป. ความผูกพันกันเป็นหมู่, การร่วมมือกัน
คนฺถโสธน : (นปุ.) การชำระคัมภีร์, การชำระ หนังสือ.
คิหิพนฺธน : นป. พันธะของผู้ครองเรือน, เครื่องผูกมัดของคฤหัสถ์
ฆรพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกคือเรือน, วัตถุ เป็นเครื่องผูกคือเรือน. วิ. ฆรํ เอว พนฺธนํ ฆรพนฺธนํ.
ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
ชีวสาธน : นป. อาหาร, ข้าว
ตปธน : (วิ.) ผู้มีศัพท์คือตบะ, ผู้มีตบะนั่น แหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตาปธโน. ฉ.พหุห.
ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
ทฺวารพนฺธน : (นปุ.) ระเบียง วิ. ทฺวารํ พนฺธติ เอตฺถาติ ทฺวารพนฺธนํ.
เทฺวสีติโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฏิแปดสิบสองประมาณ, ทรัพย์ประมาณแปดสิบสองโกฏิ, ทรัพย์แปดสิบสองโกฏิ.
ธนี : (วิ.) มีทรัพย์, มีเงิน, มั่งคั่ง. วิ ธนํ อสฺส อตฺถีติ ธนี. อี ปัจ. ตทัสสัตถีคัท. ส. ธนินฺ.
ธีน : ค. ผู้อาศัย, ผู้พึ่ง
ธุนิ ธุนี : (อิต.) แม่น้ำ. ธุ วิธุนนโสธเนสุ, ยุ, อิตฺถิยํ อี, ศัพท์ต้นรัสสะ. ส. ธุนิ, ธุนี.
เธนุ : (อิต.) นม (นมที่มีน้ำนม). โคนม, แม่ โคนม, วิ. ธยติ อิโต ขีรํ โปตโกติ เธนุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ธายติ วจฺฉํ ปาเยตีติเธนุ. เธปาเน, นุ, ส. เธนุ.
โธน : (วิ.) ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา, ผู้ฉลาด, โธรฺ คติเฉกภาเว, อ. แปลง ร เป็น ณ แปลง ณ เป็น น.
นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.
นิจฺฉุธน : นป. การโยนทิ้ง, สละเลิก, ไล่ออกไป