Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธรรมจริยา, จริยา, ธรรม , then จรยา, จริย, จริยะ, จริยา, ธมฺม, ธมฺมจริยา, ธรรม, ธรรมจริยา, ธรรมะ, ธรรมา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธรรมจริยา, 544 found, display 1-50
  1. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  2. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  3. จริยาปิฏก : นป. คัมภีร์จริยาปิฎก, ชื่อของคัมภีร์สุดท้ายในขุททกนิกาย
  4. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  5. อธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติมิใช่ธรรม, ความประพฤติไม่เป็นธรรม, ความไม่ประพฤติธรรม, ความประพฤติผิด.
  6. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  7. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  8. ธมฺม : (วิ.) หนักแน่น อุ. ทฬฺหธมฺม แม่นยำ และหนักแน่น
  9. กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
  10. โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
  11. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  12. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  13. นคฺคจริยา : อิต. การประพฤติเปลือย, การเปลือย
  14. ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
  15. ปาริจริยา : อิต. การบำเรอ, การรับใช้, การบริการ
  16. พฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์
  17. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  18. สมจริยา : (อิต.) ความประพฤติเรียบร้อย.
  19. อตฺถจริยา : อิต. การบำเพ็ญประโยชน์, การทำความดี
  20. อติจริยา : (อิต.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤตินอกใจ.
  21. อนติจริยา : (อิต.) การไม่ประพฤตินอกใจ.
  22. อุญฺฉาจริยา : อิต. การเที่ยวขอทานเลี้ยงชีพ
  23. โมกฺขธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องพ้น, ธรรม คือความหลุดพ้น, โมกษธรรม.
  24. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  25. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  26. ตณฺหกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งตัณหา ( หาย อยาก ) ความสิ้นไปแห่งตัณหา, ธรรม เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา, ตัณหักขยะ ชื่อ ของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  27. ธมฺมกาย : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, หมู่แห่งธรรม. ธมฺม+กาย. ธรรม กาย คือพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้, ธมฺมก+อาย. การประกอบด้วยธรรม, กาย มีธรรม. ธมฺม+ยุตฺต+กาย.
  28. ธมฺมฎฐ : (วิ.) ผู้ตั้งซึ่งธรรม, ผู้ดำรงอยู่ใน ธรรม. วิ. ธมฺเม ติฎฺฐตีติ ธมฺมฎโฐ. ธมฺม+ ฐา+อปัจ.
  29. ธมฺมสตฺถ : (นปุ.) ตำราแห่งกฎหมาย, ธรรม ศาสตร์. ส. ธรฺมศาสฺตฺร.
  30. นิยฺยาน : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรม เครื่องนำออก. นิปุพฺโพ, ยา คติปาปุเณสุ. ยุ.
  31. นิวรณ : (ปุ.) การห้าม, การกั้น, การขัดขวาง, เครื่องห้าม, เครื่องกั้น, เครื่องขัดขวาง, กิเลสอันกั้นจิตไม่ให้บรรจุความดี, ธรรม อันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี, นิวรณ์, นีวรณ์. นิยยานวรณฏฺเฐน นิวารณา นีวารณา วา. ชื่อว่า นิวรณ์ เพราะอรรถ ว่าเป็นเครื่องกั้นธรรมเครื่องนำออก. ไตร. เป็น นปุ. บ้าง. ฌานาทิกํ ทิวาเรนฺตีติ นิวารณาทิ.
  32. ธมฺมเสนานี : (ปุ.) แม่ทัพแห่งะรรม, แม่ทัพ ธรรม.
  33. นิยฺยานิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรมอันนำสัตว์ออกจากทุกข์. ธรรม อันนำสัตว์ออกจากวัฏสงสาร (ได้แก่ อริยมรรค ๔).
  34. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  35. กุสลเจตสิก : (วิ.) (ธรรม อารมณ์) อันเกิดกับจิตที่เป็นอกุศล.
  36. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  37. จิตฺตวิสสฏฐ : ค. (ธรรม) ที่ไม่เจือจิต, ไม่เกี่ยวข้องกับจิต
  38. จิตฺตสณฺหตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็น ธรรม ชาตละเอียด.
  39. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  40. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  41. ธมฺมยนฺต : นป. เครื่องยนต์ คือ ธรรม
  42. ธมฺมรต : (วิ.) ผู้ยินดีแล้วในธรรม, ผู้ยินดีใน ธรรม.
  43. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  44. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  45. พุทฺธกร, พุทฺธการก : ค. (ธรรม) ที่ทำให้เป็นพระพุทธเจ้า
  46. โพธิปกฺขิก, โพธิปกฺขิย : ค. (ธรรม) ซึ่งเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการตรัสรู้
  47. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  48. อุโปสถทิวส : (ปุ.) วันอุโบสถ คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันที่พระสงฆ์ลง อุโบสถฟังสวดพระปาติโมกข์ สำหรับ อุบาสกอุบาสิกา คือวันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันรักษาศีลฟัง ธรรม.
  49. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  50. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-544

(0.0825 sec)