Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธุรกิจท่องเที่ยว, เที่ยว, ธุรกิจ, ท่อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธุรกิจท่องเที่ยว, 143 found, display 1-50
  1. กมฺมวฏฏ : (นปุ.) ความวนด้วยอำนาจแห่ง กรรม, ความวนแห่งกรรม, การท่องเที่ยว ไปด้วยอำนาจแห่งกรรม, การท่องเที่ยวไป ด้วยอำนาจแห่งผลของกรรม, วนคือกรรม.
  2. กามาวจร : ค. ซึ่งท่องเที่ยวไปในกาม
  3. กามาวจรจิตฺต : นป. จิตที่ท่องเที่ยวไปในกาม
  4. กามาวจรวิปาก : นป. จิตซึ่งเป็นผลท่องเที่ยวไปในกาม
  5. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  6. จญฺจลติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ร่ายรำ, ท่องเที่ยว
  7. จรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยวไป, ดำเนินไป, ประพฤติ
  8. จารก, - ริก : ๑. ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; ๒. ป. คุก, เรือนจำ
  9. จาริกา : อิต. การเที่ยว, การท่องเที่ยว, การเดินทาง
  10. ทุคฺคสญฺจาร : ป. การท่องเที่ยวไปในทางกันดาร; ทางที่สัญจรไปมาได้ยาก
  11. ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
  12. ปถาวี : ป. ผู้เดินทาง, นักท่องเที่ยว
  13. ปพฺภมติ : ก. ท่องเที่ยวไปมา, วิ่งไปมา
  14. ปริพฺพชติ : ก. ท่องเที่ยวไป; บวช
  15. ปริพฺภมติ : ก. หมุนไป, ท่องเที่ยวไป, สึก (จากพระ)
  16. ปริพฺภมน : นป. การหมุน, การม้วน, การท่องเที่ยว
  17. ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
  18. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  19. ยาตรา : อิต. ยาตรา, การท่องเที่ยวไป, การเดินทาง; การยังชีวิตให้เป็นไป, การดำรงชีวิต
  20. สญฺจรณ : นป. การท่องเที่ยว
  21. สญฺจรติ : ก. ท่องเที่ยว
  22. สญฺจาร : ป. การเดินทาง, การท่องเที่ยว
  23. สสรณ : นป. การท่องเที่ยว
  24. สสรติ : ก. แล่นไป, ท่องเที่ยวไป
  25. สสาร : ป. การท่องเที่ยว, การเวียนว่ายตายเกิด
  26. อฏณก : ค. จาริกไป, ท่องเที่ยวไป
  27. อฏน : นป. การจาริก, การท่องเที่ยว
  28. อติสญฺจร : ค. ท่องเที่ยวเรื่อยไป, เที่ยวมาก
  29. อทฺธคู : (วิ.) ผู้เดินทาง, ผู้เดินทางไกล, ผู้ท่องเที่ยว, ผู้เดินทางไกลเป็นปกติ, ผู้เดินทางไกลโดยปกติ.อทฺธปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู.
  30. อทฺธิก : (ปุ.) คนเดินทาง, คนเดินทางไกล, นักท่องเที่ยว.
  31. อนิเกตสารี : (วิ.) ผู้ไม่มีกังวลท่องเที่ยวไป.
  32. อนุปริยาติ : ก. ไปๆ มาๆ, ท่องเที่ยวไป
  33. อนุวิจรณ : นป.การท่องเที่ยวไป, การจาริกไป
  34. อนุสญฺจรณ : นป. การจาริกไป, การท่องเที่ยวไป
  35. อนุสญฺจรติ : ก. จาริกไป, เที่ยวไป, ท่องเที่ยวไป
  36. อมฺพุจารี : ป. ปลา, สัตว์ที่มีปกติท่องเที่ยวไปในน้ำ
  37. อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
  38. อวจร : ๑. นป. การท่องเที่ยวไป, ชั้น, แดน, บริเวณ, เขต, วิสัย ; ๒. ค. ซึ่งท่องเที่ยวไป, ซึ่งอยู่อาศัย
  39. อวจรอวจรณ : (นปุ.) การเที่ยวไป, การท่องเที่ยวไป.อวปุพฺโพ, จรฺจรเณ, อ, ยุ.
  40. อสมาทานจาร : ป. การท่องเที่ยวไปโดยไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสำรับ
  41. อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
  42. โอฆสสาร : (ปุ.) การท่องเที่ยวไปในห้วงน้ำ คือกิเลส, โอฆสงสาร (การเวียนเกิดเวียน ตายในโลก).
  43. กึกรณีย, กิงฺกรณีย : นป. กิจที่ควรทำอะไรๆ, ธุรกิจ, หน้าที่
  44. ปฐติ : ก. อ่าน, ท่อง, สวด
  45. อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.
  46. ธุรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการงาน, กิจการงาน, ธุรกิจ คืองานประจำที่เกี่ยวกับการค้าขาย หรือกิจการอื่นที่สำคัญ ซึ่งมิใช่ราชการ.
  47. มคฺคุทฺเทสก : (ปุ.) คนผู้นำทาง, คนผู้นำคนอื่นเที่ยว, มัคคุเทสก์ (ผู้นำคนอื่นซึ่งไม่ชำนาญทางหรือสถานที่นั้นๆ เที่ยว).
  48. ควช : (ปุ.) โคลาน (งัวลาน คืองัวป่า), โค เพลาะ (วัวโทน เที่ยวไปโดดเดี่ยว). วิ. โค วิย วชติ อชตีติ วา ควโช. วชฺ อชฺ วา คมเน, อ.
  49. คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
  50. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-143

(0.0202 sec)