นวก : (วิ.) ต้น, แรก, ใหม่, สด, หนุ่ม. นว+ ก สกัด
อธุนา : (อัพ. นิบาต) เดี๋ยวนี้, เมื่อกี้, ไม่นาน, ใหม่, ในกาลนี้, ในกาลเดี๋ยวนี้.
ภาติก : (ปุ.) พี่น้องชาย, พี่ชายน้องชาย, พี่ชาย, น้องชาย, พี่น้อง, พี่, น้อง, ภาดร, ภาดา, ภราดา, ภราดร. ส. ภฺราตถฺ.
อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
กนิฏฺฐ ภาตุ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้อง ชาย.
กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อยที่สุด, น้อง หญิง, น้องสาว.
กณิฏฺฐ กนิฏฐ : (ไตรลิงค์) น้อง. ส. กนิษฺฐ.
ตรุณ : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, ใหม่.
อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
นว : (วิ.) ใหม่, สด, หนุ่ม. นุ ถุติยํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นว, นวีน.
นูตน : ค. ใหม่, สด
กณิฏฐ : ป. น้อยที่สุด, เล็กที่สุด, ผู้เป็นน้องคนเล็ก
กณิฏฐก : ป. น้องชาย
กณิฏฐา : อิต. น้องสาว
กนิฏฐ : ป., ค. น้องชาย, ผู้เกิดภายหลัง
กนิฏฐ : (ปุ.) น้องชายผู้น้อยที่สุด, น้องชาย สุดท้อง, น้องชาย. ส. กนิษฺฐ.
กนิฏฺฐ ภคินิสามี : (ปุ.) สามีของน้องสาว, น้องเขย.
กนิฏฺฐ ภคินี กนิฏฺฐา : (อิต.) น้องหญิงผู้น้อย ที่สุด, น้องหญิงคนสุดท้อง, น้องหญิง, น้องสาว.
กนิฏฐี : อิต. น้องสาวผู้น้อย
กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
กุมฺภกณฺณ : (ปุ.) กุมภกรรณ ชื่อยักษ์มีหูใหญ่ใส่ หม้อได้ เป็นน้องของทศกัณฐ์.
ขยาตีต : ค. ล่วงเลยไป, การหมดไปแล้วกลับคืนมาใหม่
ขุลฺลตาต : (ปุ.) พ่อเล็ก, อา (น้องของพ่อ).
เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
จุลปิตุ จุลฺลปิตุ จุฬปิตุ จูฬปิตุ : (ปุ.) บิดาน้อย, อา ( น้องของพ่อ แต่ก่อนเขียนอาว์ ).
ชามี : อิต. น้องสาว, พี่สาว
ชาเมยฺย : ป. ลูกของน้องสาวพี่สาว, หลาน
ญาตก : (ปุ.) คนรู้จัก, คนรู้จักกัน, พี่น้อง, ญาติ. วิ. ญาติ เอว ญาตโก. แปลง อิ เป็น อ ก สกัด.
ญาตก, ญาติ : ป. ญาติ, พี่น้อง, คนสนิท
ญาติก : (ปุ.) คนผู้เป็นญาติ, ญาติชาย, พี่น้อง, ญาติ.
ญาติกถา : อิต. การพูดถึงญาติพี่น้อง
ญาติธมฺม : ป. ญาติธรรม, หน้าที่ของญาติพี่น้อง
ญาติปริวฏฺฏ : นป. ความหมุนเวียนแห่งญาติพี่น้อง, เครือญาติ
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
เตภาติก : ค. มีพี่น้องชายสามคน
ทุสฺสคหณมงฺคล : นป. พิธีมงคลเสื้อผ้า, พิธีมงคลนุ่งห่มผ้าใหม่
เทวร : (ปุ.) พี่น้องชายของผัว, แปลว่า พี่ผัวหรือน้องผัวก็ได้แล้วแต่เนื้อความของที่นั้น ถ้าเป็น พหุ. แปลว่าพี่ผัวและน้องผัว. วิเทวนฺติ เอเตนาติ เทวโร. ทิวุ กีฬายํ. อโร. แปลง อิ เป็น เอ. ฎีกาอภิฯ สามิภาตา กนิฎโฐ สามิโน ภาตา เทวโร นาม.
นนนฺทา : (อิต.) พี่น้องหญิงของผัว วิ. สามิโน ภตฺตุ ภคินี นนนฺทา นาม. น นนฺทคตีติ วา นนนฺทา. นปุพโพ, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ, อ. ไม่แปลง น เป็น อ เป็น ปกติสนธิ.
นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
นวกภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุผู้บวชใหม่, นวกภิกษุ (ผู้มีพรรษายังไม่ครบ ๕).
นวกมฺม : (นปุ.) การทำใหม่, การงานใหม่, กิจอัน... ทำใหม่, การก่อสร้าง.
นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
นวาวาส : (ปุ.) วัดใหม่, วัดสร้างใหม่.
ปฏิทสฺเสติ : ก. แสดงเฉพาะ, แสดงตน, ปรากฏใหม่
ปฏิทุกฺขาปนตา : อิต. ภาวะที่กลับทำให้เกิดมีความทุกข์ขึ้นใหม่อีก
ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
ปฏิวินิจฺฉินติ : ก. วินิจฉัยใหม่, กลับพิจารณาอีก
ปฏิวิรูหติ : ก. งอกขึ้นมาใหม่, กลับงอกงามแล้ว