ปลาป : ป. การพูดพร่ำ, การพูดมาก
ปลาปี : ค. ผู้พูดพร่ำ
ปลาเปติ : ก. ให้หนีไป
ปลายี : ค. ผู้หนีไป
ปลาล : นป. ฟาง
ปลาลปุญฺช : ป. กองฟาง
ปลาส : ป. ใบไม้; ความขึ้งเคียด, ความปองร้าย, การตีเสมอ
ปลาสาท : ค. มีใบไม้เป็นอาหาร, มีหนามเป็นอาหาร, แรด
ปลาสี : ค. มีความปองร้าย
สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
วาริช : ค. เกิดแต่น้ำ; ปลา
จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
นิปฺปลาป : ค. ไม่พูดพร่ำ, ไม่พูดมาก
นิปลาวิต : ค. ซึ่งลอยน้ำ, ซึ่งลอยอยู่ในน้ำ
ปณฺฑุปลาส : ป. ใบไม้เหลือง, ใบไม้เหี่ยว; คนเตรียมออกบวช
ปล : นป. ชื่อมาตราน้ำหนัก ประมาณ ๔ ออนส์
ปุปฺผปลาส : ป. กองดอกไม้
เปลา : (อิต.) กระโปรง, ฯลฯ. ดู เปฬา.
รตฺตปลา : อิต. ปลิง
วิปฺปลาป : ป. การบ่น, การพร่ำเพ้อ
สมฺผปฺปลาปี : (ปุ.) คนผู้กล่าวคำเพ้อเจ้อ, คนพูดเพ้อเจ้อ.
อปลาปิ : ค. ผู้ไม่พูดพล่าม, ไม่พูดเหลาะแหละ
อปลายี : (วิ.) ไม่หนี, ไม่หนีไป.
อปลาเลติ,- เฬติ : ก. กอด, จูบ, ละโบม
อปลาสี : ค. ไม่ถือโกรธ, ไม่เห็นแก่ตัว,ใจบุญ
อสมฺผปฺปลาป : ป. การไม่พูดเพ้อเจ้อ, การไม่พูดพล่าม
อุปลาเฬติ : ก. ปลอบโยน, ประเล้าประโลม
ติมิงฺคล : (ปุ.) ติมิงคละ ชื่อปลาใหญ่, ปลา ติมิงคละ. วิ. ติมิโน คโล ติมิงฺคโล. ติมํ คิลตีติ วา ติมิงฺคโล. ติมิปุพฺโพ , คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ คิรฺ นิคิรเน, วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. ติมฺคล.
อนิมิสอนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระพริบตา).
อนิมิส อนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระ พริบตา).
โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
ชลจร : (ปุ.) ทางน้ำ, สัตว์ผู้เที่ยวไปในน้ำ, สัตว์น้ำ, ปลา. วิ. ชเล จรตีติ ชลจโร. อ. ปัจ
ฌส : (ปุ.) สัตว์อันเขาเบียดเบียน, ปลา. ฌสฺ หึสายํ, อ. ส. ฌษ.
ติม : (ปุ.) ติมะ ชื่อปลาชนิดหนึ่ง, ปลา. ส.ติม ปลา.
มจฺฉ : ป. ปลา
มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
มีน : (ปุ.) ปลา (ปลาทั่วไป). มรฺ ปาณจาเค, อีโน, รฺโลโป. มิ หึสายํ วา.
อมฺพช : (ปุ.) สัตว์เกิดในน้ำ, ปลา.
โอกจร : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, ผู้อยู่ในน้ำ, ผู้เที่ยวไปในน้ำ เช่น ปลา เป็นต้น
เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
กปิล : (ปุ.) กปิละ ชื่อคน ชื่อปลา, โคมีสีแดง,โคแดง, สีดำแดง, สีเหลือง, สีน้ำตาลอ่อน, วิ. อกพิ นีลา ทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล กพิ วณฺเณ, อิโล, พสฺส โป. ส.กปิล.
กุปินี : อิต. แหจับปลา, ร่างแห, เครื่องดัก
กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
กุเวณี : อิต. ไซ, เครื่องดักปลา, อวน, แห
เกวฏฏ : ป. ชาวประมง, คนหาปลา
เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
โกนิสาตก : (ปุ.) เสือปลา.
ข : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สูญ.