ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
อุปาลี : (ปุ.) พระอุบาลี ชื่อพระเถระ.
ปตฺตปาลี : (ปุ.) กรรไกร.
ปาล : นป. การปกครอง, การรักษา
อาปาลี : ป. ตัวเหา
ปาล, - ก : ค., ปาลน นป. ผู้ปกครอง, ผู้รักษา
ชคตี ปาล : (ปุ.) ชนผู้รักษาแผ่นดิน, พระราชา, พระยา.
ภูนาถ ภูป ภูปติ ภูปาล ภูภุช ภูมิธร ภูมินฺท ภูมิป ภูมิ-ปาล : (ปุ.) พระยา, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
กปาล : (ปุ. นปุ.) กะโหลก กะโหลกศีรษะ. วิ. กํ สีสํ ปาเลตีติ กปาลํ. กปุพฺโพ, ปาลฺรกฺขเณ, โณ. กปฺปนฺติ ชีวิตํ เอเตนาติ วากปาลํ. กปฺปฺ สิทฺธิยํ, อโล. ลบ ปฺ สงโยค. กระเบื้องหม้อ ก็แปล. ส.ก ปาล.
นิรยป นิรยปาล : (ปุ.) นายนิรยบาล (ผู้ รักษาสัตว์นรก ผู้ปกครองสัตว์นรก). วิ. นิรยสตฺเต ปาติ ปาลติ วาติ นิรยโป นิรยปาโล วา. ปา รกฺขเณ, กฺวิ. ปาล รกฺขเณ, อ. ส. นิรยปาล.
โคปก โคปาล โคปิล : (ปุ.) คนเลี้ยงสัตว์, คนเลี้ยงโค, นายโคบาล. วิ. คาโว ปาเลตีติ โคปาโล. ศัพท์ต้น โคบทหน้า ปาลฺ ธาตุ ณฺวุ ปัจ. ศัพท์ที่สอง ปาลฺ ธาตุ ณ ปัจ. ศัพท์ที่สาม ปาธาตุ อิล ปัจ.
โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
ปาฐ : ป. เรื่องราว; วิธีสาธยายคัมภีร์, การอ่านคัมภีร์; คัมภีร์, บาลี
อชปาลก : (นปุ.) โกฐชื่อเครื่องสมุนไพรอย่างหนื่ง มีหลายชนิด.วิ.อตฺตโน ฉายูปคเตอเชปาเลตีติอชปาลกํ. อชปุพฺโพปาลฺรกฺขเณ, ณฺวุ.
อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
กปาล, - ปาลก : ป. กบาล, กะโหลกศีรษะ, กะทะ, เศษหม้อ, เศษกระเบื้อง
กามปาล : ป. การบำรุงกาม, การรักษาสิ่งที่ประสงค์
ฆฏีหฏาห, ฆฏีกปาล : นป. หม้อน้ำ, กะโหลกน้ำ
จาฏิกปาล : นป. แผ่นกระเบื้อง, หม้อ, จานกระเบื้อง (ใช้เป็นโล่), โล่กระเบื้อง
ชคตีปาล : ป. พระเจ้าแผ่นดิน, พระราชา
ชยปาล : (ปุ.) พระพรหม, พระศิวะ.
ตตฺตกปาล : (ปุ.) กระเบื้องอันไฟให้ร้อนแล้ว, กระเบื้องร้อน.
ทณฺฑหตฺถโคปาลสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วย บุคคลผู้เลี้ยงโคผู้มีท่อนไม้อยู่ในมือ.
ทฺวารปาล : ป. คนเฝ้าประตู, ยามรักษาประตู
ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
ทายปาล : ป. คนรักษาป่า, พนารักษ์
ทีปาลย : ป. สถานที่พำนัก, ที่พักผ่อน
เทสปาล : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
ธนปาล : ป. ผู้รักษาทรัพย์, ผู้เฝ้าทรัพย์, ช้างธนบาล
ธมฺมปาล : (วิ.) ผู้รักษาซึ่งธรรม. ผู้รักษาธรรม.
นครทฺวารปาลก : (ปุ.) คนผู้รักษาซึ่งประตู แห่งพระนคร, ยามรักษาประตูพระนคร.
นาเทว นรนาถ นรนายก นรป นรปติ นรปาล นรราช นราธิป นรินท : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. ส. นเรนทร, นฤป, นฤปติ.
นิรยป, นิรยปาล : ป. นายนิรยบาล, ผู้เฝ้ารักษานรก
ปตฺตปาล : (ปุ.) มีดใหญ่.
ปเวณิปาลก : ป. ผู้รักษาขนบประเพณี, ผู้รักษาวงศ์สกุล
พฺยาปาล : (วิ.) ผู้รักษาโดยเอื้อเฟื้อวิเศษ, ผู้ดูแลโดยเอื้อเฟื้อโดยวิเศษ, ผู้ดูแลรักษาคนไข้, ผู้ปฏิบัติคนไข้.
ภูปาล : ป. ผู้รักษาแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน
เภสชฺชกปาล : นป. หม้อยา, ขันยา
มนฺทิรปาล : (ปุ.) การปกครองในเรือนหลวง, การปก ครองในพระราชฐาน.
รฏฺฐปาล : (ปุ.) บุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, คณะบุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, รัฐบาล (องค์การปกครองบ้านเมือง องค์การบริหารบ้านเมือง).
โลกปาล : ป. ผู้รักษาโลก
วสานุปาลก : ค. ผู้รักษาตามซึ่งวงศ์
สิริสยนปาลก : (ปุ.) จางวางมหาเล็ก.
สีสกปาล : (ปุ.) กะโหลกศีรษะ.
สีสกปาล, สีสกฏาห : ป. กะโหลกศีรษะ
อชปาล : ป. คนเลี้ยงแพะ
อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).