ปาภฏ, ปาภต, ปาภติ : นป. บรรณาการ, ของขวัญ, ราคา, ทุน
ปาย : ๑. ป. ความเจริญ ;
๒. ค. มาก
ราค : ป. สี, เครื่องย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี
นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
อคฺฆนก อคฺฆนิก อคฺฆนิย : (วิ.) มีค่า, มี ราคา.
อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
นวุติย : ค. อันควรค่าเก้าสิบ, มีราคาเก้าสิบ
ปณติ : ก. ขาย, ซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, ตกลงราคา, พนัน
ปริตุเลติ : ก. พิจารณา, ตีราคา, ชั่งน้ำหนัก
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
มหคฺฆ : (วิ.) มีค่ามาก, มีค่าใหญ่, มีราคามาก, มีราคาแพง.
อกฺขรผลก : ป. กระดานชนวน, กระดานดำ, แผ่นป้ายสำหรับเขียนหนังสือ
อคฺฆการก : ป. ผู้คิดราคา
อคฺฆติ : ก. มีค่า, ควรแก่ค่า, ถึงค่า, คาดราคา, ตีค่า
อคฺฆนกอคฺฆนิกอคฺฆนิย : (วิ.) มีค่า, มีราคา.
อคฺฆปท : นป. ความมีค่า, ความมีราคา
อคฺฆวฑฺฒน : (นปุ.) การเพิ่มราคา, การขี้นราคา.
อคฺฆาปน : นป. การตีราคา, การตกลงราคา
อคฺฆาปนก : ป. ผู้ตีราคา, ผู้ประเมินค่า
อคฺฆาปนกอคฺฆาปนิก : (ปุ.) คนตั้งราคา, คนตีราคา, คนว่าราคา.
อคฺฆาปนก อคฺฆาปนิก : (ปุ.) คนตั้งราคา, คนตีราคา, คนว่าราคา.
อคฺฆาปนิย : นป. สิ่งที่ตีราคาได้
อคฺฆิย : (วิ.) มีค่า, มีราคา, อันควรยกย่อง.สฺ อรฺฆย.
อญฺชนิสลากา : อิต. ไม้ป้ายยาตา
อญฺชนิสลากาอญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้ายยาตา.
อญฺชนิสลากา อญฺชนีสลากา : (อิต.) ไม้ป้าย ยาตา.
อปฺปคฺฆ : ค. มีค่าน้อย, ไม่ค่อยมีราคา
ราคจริต : ค. ราคจริต, คนที่มีนิสัยชอบในความกำหนัดยินดี
ราคกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งความกำหนัด
ราคคฺคิ : ป. ไฟคือราคะ
ราครตฺต : ค. ถูกย้อมด้วยราคะ
สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
อปาย : (วิ.) ฉิบหาย, เสื่อม, ไม่เจริญ.น+ปาย.
ผุสฺสราค : (ปุ.) ดู ปุสฺสราค.
อปายภูมิ : (อิต.) ภูมิที่ปราศจากความเจริญ, อบายภูมิคือนรกเปรตอสุรกาย และสัตว์ดิรัจฉาน.วิ.อปาโยเอว ภูมิ อปายภูมิ
อุปราค : (ปุ.) พระคราธสูรย์และจันทร์, พระ เคราะห์. ส. อุปราค.
อุปายน : (นปุ.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของ ฝาก, บรรณาการ. วิ. อุเปยฺยเตติ อุปายนํ. อาปายิตพฺพนฺติ วา อุปายนํ. อุปปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ยุ. ส. อุปายน.
คณฺฐิปาย : ป. แร้ว, บ่วง, เหยื่อล่อ
ตาราคณ : ป. หมู่ดาว, กลุ่มดาว
นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
นโยปาย : (ปุ.) หนทางเป็นเครื่องนำไป, วิธี เป็นเครื่องนำไป, อุบายเป็นเครื่องนำไป, วิธีดำเนินการ. วิ. นโย อุปาโย นโยปาโย. ไทย นโยบาย ใช้ในความหมายว่า หลัก และวิธีปฏิบัติที่ถือเป็นแนวดำเนินการ.
ปทุมราค : (ปุ.) ทับทิม, แก้วทับทิม, พลอยสี แดง, ปัทมราคะ, ปัทมราช. วิ. ปทุมญฺจาตฺร โกกนทํ, ตพฺพณฺณสทิโส มณิ ปทุมราโค. ฎีกาอภิฯ
ปายุ : ป. ทวารหนัก
ปุสฺสราค : (ปุ.) พลอยสีเหลือง, ทับทิม, บุษราคะ, บุษราคัม. ส. ปุษฺปราค.
พฺยตฺติราค : (ปุ.) สีแดงเรื่อ, แดงเรื่อ.