วย : ป., นป. วัย, ความเสื่อม
ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
สหพฺย : (ปุ.) มิตร, สหาย, เพื่อน. สหปุพฺโพ, เ พฺย ปวตฺติยํ, อ. ลบสระหน้า คือ เอ.
พฺยวาย : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน. วิ. อยฺยติพล เมเต-นาติ วฺยวาโย พฺยวาโย วา. วฺยยฺขเย, โณ, มชฺเฌ วฺอาคโม. อถวา, วิคโต อโย วุทฺธิ ยสฺมา โส พฺยวาโย.
พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
พฺยวหาร : (ปุ.) การนำลงพิเศษ, ธรรมเนียม. วิ+อวหาร.
โกรพฺย, - วฺย : ค., ป. ผู้เป็นเหล่ากอแห่งกุรุ, ผู้สืบเชื้อสายมาแต่เผ่ากุรุ; เป็นชาวแคว้นกุรุ; เหล่ากอแห่งกุรุ, ชาวแคว้นกุรุ
ทาสพฺยตา : อิต. สภาพความเป็นทาส
ทาสพฺย, - สวฺย : นป. ความเป็นทาส
มรณพฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ คือความตาย, ทุกข์เครื่องยังสุขให้ฉิบหายคือความตาย, ความตายและความฉิบหาย.
วิย : อ. ราวกะว่า, เหมือน
เสตพฺย : (นปุ.) เสตัพยะ ชื่อเมือง.
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
สมวย : (วิ.) มีวัยเสมอกัน, มีวัยร่วมกัน, รุ่นเดียวกัน, ปีเดียวกัน, สมวัย. สม+วย.
อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
กพฺย : (นปุ.) ความมีในกวี, ความเป็นกวี. วิ. กวิมฺหิ ภวํ กพฺยํ. กวิ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ ลบ ณฺ เป็น วฺย แปลง วฺ เป็น พฺ รูปฯ ๓๖๓, เรื่องของกวี วิ. กวิโน อิทํ กพฺยํ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
กลภ กฬภ : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น, ลูกช้าง. วิ. กลียติ ปริมียติ วยสาติ กลโภ กฬโภ วา. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโภ. ส. กลภ.
ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
สรพฺย สรวฺย : (นปุ.) ที่หมาย, เป้า. วิ. สโร วยติ อสฺมินฺติ สรพฺยํ สรวฺยํ วา. วยฺ คติยํ, อ, วสฺสาการโลโป (ลบ อ อักษรแห่ง ว).
สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.