กปิกจฺฉุ กปิตจฺฉุ : (ปุ.) อเนกคูณคัน, อเนกคุณคัน, อเนกคุณ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทย. วิ กปินํ กจฺฉุ ชเนตีติ กปิกจฺฉุ. ณุ ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ก เป็น ต.
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
กากวณฺณ : ๑. ป. พระนามของกษัตริย์พระองค์หนึ่งในลังกา;
๒. ค. มีสีเหมือนกา, มีผิวพรรณดำ
กามวณฺณี : ค. ผู้มีผิวพรรณงามน่ารัก
กุมุทวณฺณ : ค. มีวรรณะดังดอกโกมุท, มีผิวพรรณเหมือนดอกบุณฑริก, มีสีเหมือนดอกบัวขาว
คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
จิตฺรตณฺฑุลา : (อิต.) พิลังกาสา ชื่อพรรณไม้ ชนิดหนึ่ง ผลกลมเล็กๆ ใช้ทำยาไทย วิ. จิตฺรานิ ตณฺฑุลานิ ยสฺสา สา จิตฺรตณฺฑุลา
ฉวิวณฺณ : ป. ผิวพรรณ, สีของผิว
ชีวสมุน : (นปุ.) ชบา, กุหลาบ, สะเอ้ง ชื่อ พรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ. ชีวตฺถํ สุมนํ ชีวสุมนํ.
ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
พุทธคุณ : (ปุ.) คำกล่าวพรรณ นาคุณของพระพุทธเจ้า, คุณของพระพุทธเจ้า, พระพุทธคุณ. บทสวดสรรเสริยพระพุทธคุณ คือ อิติปิ โส ภควา ฯลฯ พุทฺโธ ภควาติ.
ภงฺค : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ภังคะ, ภางค์. วิ. สยเมว ภิชฺชตีติ ภงฺโค. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ. จันทร์กะพ้อ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกขาวคล้ายดอกพะยอมหอมคล้ายดอกจันทน์?.
มาลตี : (อิต.) ชาติบุษย์ (บัวชนิดหนึ่ง), มะลิ, มะลิซ้อน, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งในวรรณคดี.
วณฺณท : ค. ผู้ให้ความงาม, ผู้ให้ผิวพรรณ
สมุทฺทกปฺปาสี : (อิต.) ฝ้ายทะเล ชื่อพรรณไม้.
สลฺลกี : (อิต.) อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยา, ช้างน้าว.
สหปุจฺฉิ : (อิต.) บังโกรยตัวเมีย ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ สีหปุจฺฉาการกุสุมมญฺชริตาย สีหปุจฺฉิ.
สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
สุมนา : (อิต.) ชาตบุษย์ชื่อบัวชนิดหนึ่ง, มะลุลี ชื่อพรรณไม้ในวรรณคดี, มะลิ, มะลิซ้อน, สุมนา ชื่อคนผู้หญิง.
สุเสน : (ปุ.) เล็บเหยี่ยวชื่อพรรณไม้อย่างหนึ่งมี ๒ ชนิด. วิ. สุฎฺฐุ สิโนตีติ สุเสโน. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สิ พนฺธเน, ยุ.
เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
เสผาลิกา : (อิต.) สุพรรณนิการ์ ชื่อพรรณไม้ ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองแก่ ฝ้ายดำก็เรียก. วิ. เสผา ชฎา อสฺสา อตฺถีติ เสผาลิกา, เสผ+อิก ปัจ. ลฺ อาคม ในท่ามกลาง. สาหร่าย จอก แหน ก็แปล.
อตฺถวณฺณนา : (อิต.) วาทะเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความ, กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนี้อความ, อรรถกถา.
อภิรูปวณฺณอภิรูปฉวี : (วิ.) ผู้มีผิวงดงาม, ผู้มีผิวพรรณงดงาม.
อภิรูปวณฺณ อภิรูปฉวี : (วิ.) ผู้มีผิวงดงาม, ผู้มี ผิวพรรณงดงาม.
ขนฺธาวรรณ : (นปุ.) กองทัพ, พลับพลาชัย.
ธูมปานาวรรณ : (นปุ.) ซองบุหรี่.
สีลาวรรณ : (นปุ.) เครื่องกำบังศีรษะ, หมวก.
เสตวรรณ เสตหฺถี : (ปุ.) ช้างเผือก.
พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
กตฺถนา : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยก ย่อง, การพรรณา, การอวด, ความชม, ฯลฯ. กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
โตฏก : (นปุ.) โตฏกะ ชื่อฉันท์วรรณพฤทธิ์ มียี่สิบสองคำ.
พฺราหฺมณวณฺณี : ค. มีวรรณพราหมณ์
ภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุ ชื่อของคนวรรณพราหมณ์ระยะที่ ๔ ของชีวิต ยังชีพโดยภิกขาจาร.
วณฺณกสิณ : นป. วรรณกสิณ, การเจริญสมาธิโดยการเพ่งสี
เวสฺส : ป. แพศย์, วรรณพราหมณ์พวกหนึ่ง, พ่อค้า
สีลกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาซึ่งศีล, กถาพรรณาศีล, สีลกถา, ศีลกถา.
สีลาฆา : (อิต.) การพรรณา, ความพรรณา.