พาน : (นปุ.) เครื่องร้อยรัด, ตัณหา. ดู วาน.
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
นิพฺพาณสจฺฉิกรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน,การทำให้แจ้งพระนิพพาน,การทำพระนิพพานให้แจ้ง.
นิพฺพานคมน : ค. ซึ่งนำไปสู่พระนิพพาน
นิพฺพานคามินี : (อิต.) ปฏิปทาเป็นเครื่อง ยังสัตว์ให้ถึงซึ่งพระนิพพาน. ข้อปฏิบัติ ให้สัตว์ถึงพระนิพพาน.
นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
นิพฺพานปตฺต : ค. ผู้บรรลุพระนิพพาน
นิพฺพานปตฺติ : อิต. การบรรลุพระนิพพาน
นิพฺพานปท : นป. บทคือพระนิพพาน
นิพฺพานปริโยสาน : ค. อันสุดลงแค่นิพพาน, มีนิพพานเป็นที่สุด
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา : อิต. การกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
นิพฺพานสญฺญา : อิต. ความหมายรู้พระนิพพาน
นิพฺพานสมฺปตฺติ : อิต. การถึงพร้อมพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
นิพฺพานสมฺปทา : อิต. ปฏิปทาให้ถึงพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน
นิพฺพานสวตฺตนิก : ค. อันประกอบในความเป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน, มีอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อความถึงซึ่งพระนิพพาน, อันยังสัตว์ให้เป็นไปในพระนิพพาน
ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
พานี : (อิต.) นางฟ้า (ผู้บำเรอเทวบุตร)?
มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
มหานิพฺพาน : (นปุ.) พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงเจริญ, พระนิพพานเป็นธรรมอันบุคคลพึงบูชา, มหานฤพาน.
อนุปาทานปรินิพฺพาน : (นปุ.) อนุปาทานปรินิพพาน คือการดับกิเลสไม่มีเชื้อเหลือ.
กึกิราต : (ปุ.) หญ้าหางช้าง, ว่านหางช้าง. กิรฺ วิกิรเณ, อาโต, ทฺวิตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม.
กุรณฺฑก กุรุณฺฑก : (ปุ.) หญ้าหางช้าง, ว่านหาง- ช้าง. กุรฺ สทฺเท, โฑ, สกตฺเถโก, ณฺสํโยโค.
โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
โคโลมี : อิต. ว่านน้ำ
ตมฺพูลปสิพฺพก : ป. ขันหมาก, พานหมาก, ถุงหมาก
ทพฺพทาร : (ปุ.) ว่านเหลือง, ขมิ้น
นายก : (ปุ.) พระนายก พระนามของ พระพุทธเจ้าทั้งปวง วิ. สํสารณฺณวโต นิพฺพานปารํ สตฺเต เนตีตี นายโก. นี ปาปุณเน, ณวุ.
ปรมตฺถคติ : อิต. คติอันสูงสุด, ทางไปแห่งชีวิตอันยอดเยี่ยม ได้แก่ ปนุปาทิเสสนิพพาน
ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
มญฺชิฏฺฐา : (อิต.) หางช้าง ชื่อว่าน มีใบเป็นแผ่นคล้ายพัดด้ามจิ๋ว หรือปลายหางช้าง, ไม้มะหาด. มชฺชฺ สุทฺธิยํ, ฏโฐ, ชสฺส โญ, อิตฺถิยํ อา.
มหาสหา : (อิต.) บานไม่รู้โรย วิ. มหนฺตมฺปิ กาลํ สหตีติ มหาสหา. บัว, สลัดได, หางจระเข้, หางช้าง ชื่อว่าน.
วจา : อิต. ว่านน้ำ
อมิลาต : (ปุ.) บัว, สลัดได, ว่านหางจระเข้, ว่านหางช้าง, บานไม่รู้โรย.วิ. นปุปฺผมาสุมิลาตมสฺสภวตีติอมิลาโต.
อมิลาตา : อิต. บัว, สลัดได, ว่านหางช้าง