Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาคิ , then ภาค, ภาคิ, ภาคี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาคิ, 80 found, display 1-50
  1. ภาคี : (วิ.) มีส่วน. ภาค+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  2. ภาคิเนยฺย : (ปุ.) หลาน, หลานชาย (ลูกของพี่สาว ลูกของน้องสาว), ภาคิไนย. วิ. ภคินิยา อปจฺจํ ภาคิเนยฺโย. เณยฺย ปัจ.
  3. ภาคิเนยฺยา : (อิต.) หลาน, หลานสาว.
  4. ฐิติภาคิ : ค. ผู้มีส่วนแห่งความตั้งมั่น, ผู้มีหลักฐาน, ผู้มีความยั่งยืน
  5. ภาค : (วิ.) อันเขาแบ่ง วิ. ภชียตีติ ภาโค. ภชฺ ภาชเน, โณ, ชสฺส โค.
  6. อุทฺธภาคิ : ค. ซึ่งอยู่ส่วนบน, เป็นส่วนเบื้องสูง
  7. โอรมฺภาคิ : (วิ.) อันเป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ.
  8. อญฺญา : (อิต.) พระอรหันตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง, พระอรหันตผล.วิ.ปฐมมคฺคาทีหิทิฎฺฐิมริยาทมนติกฺกมิตฺวาชานิตพฺพาติอญฺญา.รูปราคาทีนํวาปญฺจนฺนํอุทฺธมฺภาคิยสํโยชนานโมธิวเสนมารณโตอญฺญา. อาปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺ สํโยโค.
  9. ภาคเธยฺย : (นปุ.) กรรมดี, กรรมไม่ดี, โชคดี, โชคไม่ดี, โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. อิฏฺฐานิฏฺฐวิปากภาโค ธึยติ เอตฺถาติ ภาคเธยฺยํ. ณฺย ปัจ.
  10. ภาคโส : อ. โดยส่วน
  11. จตุภาค : (ปุ.) ส่วนสี่, จตุภาค, จตุรภาค, จตุร- ภาค ( สี่ส่วน ). ส. จตุรภาค.
  12. สมภาคี : (วิ.) มีส่วนเสมอ, ฯลฯ. สม+ภาค+อี ปัจ. ตทัสสตถิตัท.
  13. โกฏฐาส : ป. โกฏฐาส, ส่วน, ภาค
  14. ตลภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งพื้น, ภาคพื้น, พื้นราบ.
  15. ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
  16. ทิสตา : อิต. ทิศ, ทิศทาง, เขต, ภาค, ส่วนแห่งโลก; ความเป็นข้าศึก, ความเป็นโจร
  17. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  18. ปุพฺพภาค : (ปุ.) กาลอันเป็นส่วนเบื้องต้น, ส่วนมีในเบื้องต้น, ส่วนเบื้องต้น, ส่วนแรก, บุพภาค, บุรพภาค.
  19. มหพฺภาค : (ปุ.) ภาคใหญ่, มหัพภาค ชื่อ เครื่องหมายวรรคตอน รูปดังนี้ “.”
  20. เหฎฺฐาภาค : (ปุ.) ส่วนมีในเบื้องต่ำ, ฯลฯ, ส่วนมีในภาคใต้, ส่วนอันเป็นเบื้องตำ, ฯลฯ, ส่วนอันเป็นภายใต้.
  21. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  22. อสา : อิต. ส่วน, ภาค, การกินอาหาร
  23. กฏิภาค : ป. เอว
  24. ทนฺตภาค : (ปุ.) กระพองช้าง ( ส่วนที่นูนเป็น ปุ่มสองข้างศีรษะช้าง). ตะพอง ก็เรียก.
  25. ทานสวิภาครต : (วิ.) ผู้ยินดีแล้วในการจำแนกซึ่งทาน, ผู้ยินดีในการแจกทาน.
  26. ทิวสภาค : ป. ส่วนแห่งวัน, เวลากลางวัน
  27. ทิสาภาค : ป. ส่วนแห่งทิศ, ทิศทาง
  28. ปจฺฉาภาค : ป. ส่วนหลัง
  29. ปรภาค : ป. ส่วนอื่น, ส่วนนอก
  30. ปาณิภาค : ป. การแบ่งด้วยมือ
  31. ปุญฺญภาค : ป. ส่วนแห่งบุญ
  32. ปุญฺญภาคี : ค. ผู้มีส่วนแห่งบุญ
  33. ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
  34. อโธภาค : (ปุ.) ส่วนเบื้องต่ำ, พื้นเบื้องต่ำ, ฯลฯ.
  35. อนิสฺสยมหึภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อา-ศัยมิได้ (เพราะไม่มีวัตถุ มีต้นไม้ ภูเขา และเมืองเป็นต้น).
  36. อปรนฺตภาค : ป. อนาคตกาล, กาลภายหลัง
  37. อพฺภาคต : ค. แขก, คนแปลกหน้า, ผู้มาถึงแล้ว
  38. อพฺภาคมน : นป. การมาถึง, การมาสู่
  39. อุปริภาค : ป. ส่วนเบื้องบน
  40. อุภโตภาควิมุตฺต : ค. ผู้หลุดพ้นแล้วโดยส่วนสอง คือโดยเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ
  41. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  42. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  43. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  44. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  45. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  46. จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
  47. ชคตี : (อิต.) แผ่นดิน. ภาคพื้น. วิ. คจฺฉนฺติ ยสฺสํ สา ชคตี. คมฺ ธาตุ อนฺตปัจ. เท๎วภาวะ ค แปลงเป็น ช ลบ นฺ และ มฺ อี อิต. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น ชคติ ชคฺคติบ้าง.
  48. ชงฺคล : (ปุ.) ภาคพื้นที่กระด้างขรุขระ (ถทฺธลูข- ภูมิปเทส). ชลปุพฺโพ, คลฺ อทเน, อ. ลบ ล ที่ชล และลงนิคคหิตอาคม.
  49. ติโยชนภูมิ : (อิต.) ภาคพื้นมีโยชน์สาม.
  50. เทฺวชฺฌ : (อัพ. นิบาต) ทำโดยส่วนสอง วิ.ทฺวิธา กโรตีติ เทฺวชฺฌํ. ชฺฌ ปัจ. วิภาคตัท.? รูปฯ ๔๐๔.
  51. [1-50] | 51-80

(0.0203 sec)