Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาสา , then ภาษา, ภาส, ภาสา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาสา, 75 found, display 1-50
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. ตนฺติภาสา : (อิต.) ภาษันแบบแผน, ถาษาที่มี แบบแผน. เช่น ภาษามคธ สันสกฤต และละติน.
  3. ภาส : (วิ.) กล่าว, บอก, พูด. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ.
  4. มุหุมฺภาสา : อิต. การพูดเพ้อเจ้อ
  5. สมฺภาสา : (อิต.) การพูดกัน, ฯลฯ. อ ปัจ. อา อิต.
  6. ภาสปกฺขิ : (ปุ.) นกแซงแซว, นกตระไน, นกกระไน. วิ. สุนฺทรากาเรน ปกฺเขน ยุตฺโต สกุโณ ปกฺขิ ภาสปกฺขิ.
  7. ภาสติ : ก. กล่าว, ส่องแสง
  8. ภาสปกฺขี : ป. นกแซงแซว, นกกระไน
  9. คพฺภาสย : (ปุ.) มดลูก ชื่ออวัยวะภายในของ หญิงสำหรับตั้งครรภ์. วิ. คพฺโภ อาสเต ติฏฺฐตฺยเตรฺติ คพฺภาสโย (อวัยวะเป็นที่ เข้าไปดำรงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์).
  10. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  11. ภารตี : (อิต.) ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, ภารดี.
  12. วาณี : อิต. ถ้อยคำ, ภาษา
  13. กโตภาส : ค. ผู้ได้รับอนุญาตแล้ว
  14. คมฺภีราวภาส : ค. ซึ่งมีความลึกซึ้งปรากฏ, ปรากฏว่าลึกซึ้ง
  15. ปฏิภาสติ : ก. กล่าวตอบ, ปราศรัยตอบ, ตอบ
  16. ปภาส : (วิ.) ยัง...ให้สว่าง, ยัง...ให้รุ่งเรือง, ยัง...ให้ผุดผ่อง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โส. ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อ. ลง เณ ปัจ. เหตุ. แล้วลบ. สว่าง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง. ๓ คำแปลนี้ ไม่ลงเณ ปัจ.
  17. ปภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
  18. ปริภาส : ป. การบริภาษ, การว่าร้าย, การติเตียน, ดูหมิ่น
  19. ปริภาสติ : ก. บริภาษ, เยาะ, ด่า
  20. สมฺภาส : นป. การพูดกัน, เจรจากัน
  21. อชฺฌภาสติ : ก. กล่าว, ปราศรัย
  22. อธิภาสติ : ก. พูด, บอก, กล่าว
  23. อนุภาส : (ปุ.) การพร่ำสอน, การว่ากล่าว.ส.อนุภาษ.
  24. อนุภาสติ : ก. ว่าตาม, กล่าวตาม, กล่าวซ้ำ
  25. อพฺภาส : (ปุ.) การทวนซ้ำ, การซ้อนกัน, การซ้ำกัน, คำซ้ำ, คำซ้อนอัพภาสคือซ้ำหรือซ้อนอักษรลงหน้าคำ.ส.อพฺยาส.
  26. อภิภาสติ : ก. กล่าว, พูด
  27. อวภาสติ : ก. ส่องแสง, โชติช่วง
  28. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  29. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  30. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  31. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  32. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  33. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  34. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  35. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  36. คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
  37. ฆณฺฏิก : (ปุ.) คนลาดตระเวน, คนผู้เที่ยวไป ด้วยจักร, คนผู้เที่ยวสดุดีเป็นหมู่. ฆณฺฏฺ ภาสเน, อิโก.
  38. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  39. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  40. นิมนฺต : (ปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  41. นิมนฺตน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  42. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  43. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  44. นิรุตฺติสภา : (อิต.) สภาแห่งบัณฑิตผู้แตกฉาน ในภาษา, สภาแห่งบัณฑิตผู้มีหน้าที่ เกี่ยวกับภาษา.
  45. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  46. ปริภาสน : นป. ดู ปริภาส
  47. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  48. ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
  49. ภณฺฑากี : (อิต.) มะเขือ, ภณฺฑ ปริภาสเน, ยุ.
  50. ภณฺฑิล : (ปุ.) ไม้ซึก (ต้นจามจุรี). ภณฺฑฺ ปริภาสเน, อิโล.
  51. [1-50] | 51-75

(0.0205 sec)