Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภูมี , then ภม, ภูมิ, ภูมี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภูมี, 74 found, display 1-50
  1. ภูมี : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  2. ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
  3. ภม : (ปุ.) ทางน้ำไหล, ท่อ, ท่อน้ำ, เครื่องกลึง. ภมุ อนวฏฺฐเน, อ.
  4. ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
  5. ทารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, ทารก คือเด็กที่ ยังไม่เดียงสา เด็กแบเบาะ มติทาง ศาสนาว่าเด็กตั้งแต่คลอดถึง ๖ ขวบ. วิ. ทรติ กีฬวเสน ภูมี วิลิขตีติ ทารโก. ทรฺ วิทารเณ, ณวุ. ส. ทารก.
  6. ภูนาถ ภูป ภูปติ ภูปาล ภูภุช ภูมิธร ภูมินฺท ภูมิป ภูมิ-ปาล : (ปุ.) พระยา, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  7. ภูมิตล : นป. พื้นดิน
  8. นวภูมิ : (วิ.) มีชั้นเก้า, มีชั้นเก้าชั้น, มีเก้าชั้น. วิ. นว ภูมิโย ยสฺส โส นวภูโม. แปลง ภูมิ เป็น ภูม.
  9. อปายภูมิ : (อิต.) ภูมิที่ปราศจากความเจริญ, อบายภูมิคือนรกเปรตอสุรกาย และสัตว์ดิรัจฉาน.วิ.อปาโยเอว ภูมิ อปายภูมิ
  10. กมฺมภูมิ : อิต. ภูมิของกรรม, ชื่อของกรรม
  11. กิเลสภูมิ : อิต. ภูมิแห่งกิเลสมี ๔ คือ (๑) สังโยชน์ (๒) อนุสัย (๓) ปริยุฏฐาน (๔) อุปาทาน
  12. จตุภูมิ : (อิต.) ภูมิสี่(สี่ภูมิสี่ชั้น) วิ. จตสฺโส ภูมิโย จตุภูมิโย.
  13. ชยภูมิ : (อิต.) แผ่นดินอันแสดงถึงชัยชนะ, พื้นที่อันมีชัย, ชัยภูมิ ( ทำเลที่เหมาะ). ส. ชยภูมิ.
  14. ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
  15. ชินภูมิ : อิต. ภูมิหรือพื้นที่ของผู้ชนะ
  16. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  17. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  18. ทสฺสนภูมิ : อิต. ภูมิแห่งการเห็น (ด้วยปัญญา), ระดับแห่งความรู้ความเห็น
  19. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  20. นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
  21. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  22. มชฺฌิมภูมิ : (อิต.) ชั้นมีในท่ามกลาง, ฐานะมีในท่ามกลาง, มัชฌิมภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคนชั้นกลางในพระพุทธศาสนาหมายถึงความรู้ชั้นกลางคือนักธรรมชั้นโท หรือหมายถึงพระชั้นกลางมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา.
  23. สุทฺธาวาสภูมิ : (อิต.) สุทธาวาสสภูมิ (ภูมิเปนที่อยู่ของพระอนาคามี).
  24. อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
  25. อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
  26. อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
  27. กปฺปิยภูมิ : อิต. ดู กปฺปิยกุฏิ
  28. เขมภูมิ : อิต. ดู เขมฏฐาน
  29. ติโยชนภูมิ : (อิต.) ภาคพื้นมีโยชน์สาม.
  30. ปุญฺญภูมิ : อิต. สถานศักดิ์สิทธิ์สำหรับแสวงบุญของศาสนิก
  31. ภมุ ภมุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  32. ภมุ, ภมุกา : อิต. คิ้ว
  33. ภีม : (วิ.) เป็นแดนกลัว, น่ากลัว, ดุร้าย. ภี ภเย, โม. รูปฯ ๖๓๖ ลง มนุ ปัจ. ลบ นฺ.
  34. ภีม, ภีสน : ค. น่ากลัว
  35. ภูม : (ปุ.?) ภพ.
  36. ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
  37. เภม : (ปุ.) สภาพอันสัตว์พึงกลัว. ภี ภเย, โม.
  38. ยานภูมิ : อิต. ถนน, ทางเป็นที่ไปแห่งยาน
  39. ยุทฺธภูมิ : (อิต.) แผ่นดินแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ภาคพื้นแห่งการต่อสู้, ฯลฯ, สนามรบ.
  40. สุวณฺณภูมิ : (อิต.) แดนทอง, แผ่นดินทอง, สุวรรณภูมิ. คำ สุวรรณภูมิ ไทยหมายถึง แผ่นดิน พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มลายู และสิงคโปร์.
  41. อภูมิ : อิต. ที่อันไม่สมควร, ไม่ใช่ภาคพื้น
  42. อาปานภูมิ : อิต. ภาคพื้นเป็นที่มาดื่ม, โรงสุรา
  43. อารามภูมิ : (อิต.) พื้นที่วัด, พื้นที่สวน.
  44. อุกฺการภูมิ : อิต. พื้นที่เปื้อนคูถ, กองคูถ
  45. อุยฺยานภูมิ : (อิต.) พื้นที่สวนหลวง.
  46. นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
  47. ภมการ : (ปุ.) ช่างกลึง. ภม+การ.
  48. อธิจฺจกา : (อิต.) พื้นเบื้องบนแห่งภูเขา, พื้นดินบนภูเขา.วิ. ปพฺพตสฺส อุทฺธํ ภูมิ อธิจฺจกาอธิ+จฺจกปัจ.
  49. อุปจฺจกา : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.
  50. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  51. [1-50] | 51-74

(0.0223 sec)