มตฺติกา : (อิต.) ดิน, ดินเหนียว. วิ. ปเทสกตฺตา มตฺเตน ปมาเณน ยุตฺตา มตฺติกา.
มตฺเตยฺย : (วิ.) เกื้อกูลแก่มารดา วิ. มาตุ หิโต มตฺเตยฺโย. เอยฺย ปัจ. โมคฯ ลง เรยฺยณฺ ปัจ.
มตฺตกาลินี : อิต. หญิงที่ดีเลิศ
มตฺตกาสินี : (อิต.) หญิงอย่างดี, หญิงผู้ดี, นางโฉมงาม, มตฺตปุพฺโพ, กสฺ คติยํ, ณี, อินี จ.
มตฺตา : อิต. ประมาณ, ย่อมเยา, พอสมควร
มตฺตา มตฺรา : (อิต.) การนับ, เครื่องนับ, เครื่องวัด, เครื่องชั่ง, เครื่องตวง, ความเป็นใหญ่. มา ปริ-มาเณ. ต ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๖๕๐.
มตฺตาสุข : นป. สุขพอประมาณ
มตฺตาสุขปริจาค มตฺตาสุขปริจฺจาค : (ปุ.) การสละรอบซึ่งสุขพอประมาณ, การเสียสละซึ่งสุขมีประ มาณน้อย, การสละซึ่งสุขพอประมาณ.
มตฺติก : (วิ.) มาข้างมารดา, เกิดแต่มารดา, อันเป็นของมีอยู่แห่งมารดา. ดู เปตฺติก.
มตฺติกาปิณฺฑ : ป. ก้อนดิน
มตฺติกาภาชน : นป. ภาชนะทำด้วยดิน
มตฺติสมฺภว : (วิ.) มีมารดาเป็นแดนเกิดพร้อม, มีมารดาเป็นแดนเกิด.
มตฺเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่มารดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา.
มตฺถก : (ปุ.) หัว, กระหม่อม, สมอง, สมองศรีษะ, ปลาย, ยอด. มสฺ อามสเน, ตฺโถ, สกตฺเถ โก จ. มสิ ปริ-มาเณ วา.
มตฺถลุงฺค : (นปุ.) มันในศรีษะ, มันในสมอง, มันสมอง, เยื่อในสมอง.
ฌามขาณุมตฺถก : (นปุ.) ที่สุดแห่งตออันไฟ ไหม้แล้ว.
มต : (วิ.) ตรัสรู้, รู้. มนฺ ญาเณ, โต.
กลก กลงฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, ตำหนิ. ก มตฺตานํ ลํกยติ หีนํ กโรตีติ กลํโก กลงฺโก วา. กปุพฺโพ, ลํกฺ องฺเก, อ. ส. กลงฺก.
ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
ภุชสิร : (ปุ.) บ่า, ไหล่. วิ. ภุชานํ สิโร มตฺถกํ ภุชสิ-โร.
มฏฺฐก : (ปุ.) หัว, ศรีษะ. ดู มตฺถก.
มาตุลุงฺค : (ปุ.) มะงั่ว วิ. มตฺโต ลุชฺชติ อเนนาติ มาตุลุงฺโค. มตฺตปุพฺโพ, ลุชฺ วินาเส, อ. มะกรูด มะนาว ก็แปล.
หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
มต มตก : (วิ.) ผู้ตายแล้ว, ผู้ตาย.
มตชาย มตภริย : (ปุ.) ชายผู้มีภริยาตายแล้ว, พ่อหม้าย.
พหุมต : ค. ซึ่งมีผู้นับถือมาก, คนเคารพมาก
มติ : (วิ.) ผู้รู้, เป็นเหตุรู้. มนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.
มิต : ๑. กิต. นับแล้ว;
๒. ค. พอประมาณ, น้อย
มิติ : อิต. การวัด, การนับ
มุต : ๑. นป. การรับรู้แห่งสัมผัส;
๒. กิต. รู้
มุติ : (อิต.) ความรู้, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, ปรีชา, ปัญญา. มุนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.
มูต : (ปุ.) กลุ่ม, ก้อน. มุ พนฺธเน, โต, ทีโฆ.
อภิมต : กิต. ตั้งใจแล้ว, ปรารถนาแล้ว
อุทฺธเทหิก : (ไตรลิงค์) ทานมีเบื้องบนแห่งกาย, ทานที่ให้เพื่อผู้ตายในวันตาย. วิ. มตทิวเส มตตฺถํ ยํ ปิณฺฑปาตชลาญฺชลฺยาทิทานํ เอตํ ทานํ เทหา อุทฺเธ ภวํ อุทฺธเทหิกํ. ณิก ปัจ.
อุสฺสุก อุสฺสุกฺก : (วิ.) ผู้ขวนขวาย, ผู้ขะมัก- เขม้น, ผู้กระตือรือร้น. อิฏฺฐ ตฺเถ อภิมต ปฺปโยชเน อุยฺยุโต ปุคฺคโล อุสฺสุโก นาม. ฏีกาอภิฯ.