มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
ทลามล : (ปุ.) ต้นไม้. วิ ทลํ อามลติ รฤขตีติ ทลามโล (ทรงคือรักษาความสดชื่นไว้). มลฺ ธารเณ, อ.
นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
มูล มูลก : (ปุ.) มัน, เผือก. มูลฺ ปติฏฺฐายํ โรปเน. วา, อ. เป็น นปุ. ก็มี.
มูลา : (อิต.) มูลา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๙ มี ๙ ดวง, ดาวช้างน้อย. ติฏฺฐติ สุภาสุภผล เมตฺถาติ มูลํ มูลา วา. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ. อภิฯ ฎีกาอภิฯ.
กณฺณมล : นป. ขี้หู
กณฺณมลหรณี : (อิต.) ไม้แคะหู.
กุฑุมล, - ก : ป. ดอกไม้ตูม, ดอกไม้ที่กำลังจะแย้มบาน
กุมฺมล : ป. ตา, หน่อ, ช่อ
คพฺภมล : นป. มลทินแห่งครรภ์, รก (เครื่องสำหรับหล่อเลี้ยงเด็กในครรภ์แนบอยู่กับมดลูกมีสายล่ามมาที่สะดือเด็ก)
นิมฺมล : ค. ซึ่งไม่มีมลทิน, สะอาด, บริสุทธิ์
พหุมล : ค. มีมลทินมาก, มีเครื่องเศร้าหมองมาก
มลิ มลิกา : (อิต.) มะลิ, มะลิซ้อน.
โมลิ โมฬิ : (ปุ. อิต.) ผมจุก, มวยผม, เทริด, รัดเกล้า, มงกุฏ, จอม, ยอด.
อสิมล : นป. สนิมดาบ, วิธีขับไล่สนิมดาบ, (วิธีบำเพ็ญตบะอย่างหนึ่ง)
อินฺทุกมล : นป. บัวขาว
มลมตฺต : (นปุ.) ขี้เล็บ. มล+มตฺต.
นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
มลย : (ปุ.) มลยะ ชื่อภูเขาอยู่ทางอินเดียตอนใต้ อุดมด้วยไม้จันทน์, ภูเขาไม้จันทน์, อาราม, อารามดอกไม้ เป็นต้น, สวนดอกไม้, ไม้จันทน์. มลฺ ธารเณ, โย.
มลยช : (ปุ.) แก่นจันทน์. วิ. มลยมฺหิ ชายตีติ มลยโช. มลยปุพฺโพ. ชนฺ ชนเน, กฺวิ.
มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
มหารญฺญ : (นปุ.) ป่าใหญ่, ป่าไม้ใหญ่, ดง. วิ. มหาทุมลตาวนํ มหารญฺญ. มหนฺตญฺจ ตํอรญฺญ เจติ มหารญฺญ.
มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
มาลูร : (ปุ.) มะตูม. มลฺ ธารเณ, อูโร. เป็น มาลุร ก็มี.
มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
มุลาล มุฬาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุฬาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
มูลฺย : (นปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ, รางวัล. วิ. มูเลน สมฺมิตํ มูลฺยํ. ณฺย ปัจ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ วา, โย.
เมลก : (ปุ.) การกอดรัด, การเกี่ยวข้อง, การคุ้นเคย, การกอดรัก, ฯลฯ, ความรัก, ความเยื่อใย, หมู่, ประชุม. มิลฺ สิเนหเน, โณ, สตฺเถ โก.
สาณิ : (อิต.) ม่าน, ผ้าม่าน, มู่ลี่, ฉาก, พระวิสูตร.
อรูปภว : (ปุ.) ที่เกิดของสัตว์ไม่มีรูป, ที่อยู่ของสัตว์ไม่มีรูป, ที่เกิดของสัตว์ผู้มีแต่นาม, ที่อยู่ของสัตว์ผู้มีแต่นามล, อรูปภพ.
อหาเปนฺต : กิต. ไม่ละ, ไม่ให้เสื่อม
อุมฺมิลน อุมฺมีลน : (นปุ.) การลืมตา. อุปุพฺโพ, มิลฺ นิมีลเน, ยุ.