Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยืน , then ยน, ยืน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยืน, 51 found, display 1-50
  1. : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่,
  2. ถาน : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่, ดำรง, ดำรงอยู่, คง, คงอยู่.
  3. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  4. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  5. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  6. ฐตฺวา : กิต. ตั้งอยู่แล้ว, ยืนอยู่แล้ว
  7. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  8. ฐายก : ค. ผู้ยืน, ผู้ดำรงอยู่
  9. ฐายิ : (วิ.) หยุดอยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงค์อยู่. ฐา ธาตุ อิ ปัจ. แปลง อา เป็น อาย.
  10. ฐิตก : ค. ผู้ยืนอยู่, ผู้ดำรงอยู่
  11. ฐิตฐาน : ค. ที่เป็นที่ยืน, สถานที่ตั้ง
  12. ฐิติก : ค. ผู้ยืนอยู่, ผู้ดำรงอยู่, ผู้เนื่องอยู่ด้วย
  13. ติฏฺฐติ : ก. ยืน, ตั้ง, พัก, ดำรง, หยุด
  14. ทฺวารฏฺฐ : ค., ป. ผู้ยืนอยู่ที่ประตู; ผู้เฝ้าประตู, คนรักษาประตู
  15. ทีฆายุ, - ฆายุก, - ฆาวุ : ค. ผู้มีอายุยืน
  16. ทีฆายุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้มีอายุยืน, ฯลฯ, ความเป็นคนมีอายุยืน.
  17. ทีฆายุ ทีฆายุก ทีฆาวุ : (วิ.) มีอายุยาว, มีอายุ นาน, มีอายุยาวนาน, มีอายุยืน, มีอายุ ยืนนาน, มีอายุยั่งยืน. คำที่สอง ก สกัด คำที่สาม แปลง ยุ เป็น วุ.
  18. ทีฆาวุกุมาร : (ปุ.) กุมารผู้มีอายุยืน.
  19. ธุว : (วิ.) เที่ยง, คงที่, มั่นคง ประจำ, ยืนที่, ยั่งยืน, แน่วแน่, แน่นอน, เนือง, เนืองๆ, บ่อย, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์. ธุ คติเถริเยสุ, อ, ธุวาเทโส. ส. ธฺรุว.
  20. ปฏิฏฺฐหติ : ก. ตั้งมั่น, ดำรงมั่น, ยืนมั่น
  21. ปทฺวารฏฺฐายินี : ค. ผู้ยืนแอบประตู, ผู้ยืนอวดทรวดทรงอยู่ที่ประตู
  22. ปพฺพตฏฺฐ : ค. ผู้ยืนอยู่บนภูเขา, ซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา
  23. โปริสิย : (วิ.) ชั่วบุรุษ (สูงเท่ากับคนยืน)
  24. พฺยูหติ : ก. ยืนเป็นแถว (คล้ายแถวทหาร)
  25. ภุมฺมฏฺฐ : (วิ.) ผู้ยืนอยู่บนแผ่นดิน, ผู้ยืนอยู่บนพื้นดิน.
  26. ยถาฐิต : ค. ตามที่ยืนอยู่แล้ว, ดังที่มันเป็นอยู่
  27. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  28. อฏฺฐาสิ : ก. ได้ยืนอยู่แล้ว
  29. อนุติฏฺฐติ, อนุติฏฺฐหติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู ตั้งขึ้น, ตกลง
  30. อภิติฏฺฐติ : ก. ปกครอง, ดำรงอยู่เหนือ, ยืนเด่น, ขึ้นหน้า
  31. อวติฏฺฐติ : ก. ตั้งลง, ยึดมั่น, ยืนนิ่ง
  32. อายุวฑฺฒก : (วิ.) ผู้เจริญด้วยอายุ, ผู้มีอายุยืน.
  33. อายุวฑฺฒน : (นปุ.) การเจริญด้วยอายุ, ความเจริญด้วยอายุ(อายุยืน ).
  34. อุตฺติฏฐติ : ก. ลุกขึ้น, ยืนขึ้น; พยายาม
  35. อุปฏฺฐาน : (นปุ.) การอุปถัมภ์, ฯลฯ, ที่บำรุง, ที่เป็นที่บำรุง, ที่เป็นที่เข้าไปยืน, โรงฉัน. วิ. อุปคนฺตฺวา ติฏฺฐติ เอตฺถาติ อุปฏฺฐานํ. ยุ ปัจ.
  36. อุปติฏฐติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู, เคารพ
  37. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  38. กรุณายน : อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  39. ยุน ยูน : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, คนหนุ่ม, คนรุ่น. ยุวศัพท์ แปลง อุว เป็น อุน, อูน รูปฯ ๖๔๙.
  40. เยน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุใด, เพราะเหตุใด.
  41. โยนิ : (ปุ.) ปัสสาวมรรคของหญิง, นิมิตของหญิง, ของลับของหญิง, โยนี. วิ. ยวนฺติ สตฺตา อเนน เอกีภาวํ คจฺฉนฺตีติ โยนิ. ยุ คติยํ, นิ. ยวนฺติ สุกฺกโสณิตา เอเตนาติ วา โยนิ. ยุ มิสฺสเน, นิ. แปลว่า เหตุ ก็มี.
  42. หรายน : (นปุ.) ความละอาย, หเร ลชฺชายํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อาย.
  43. อวหายน : นป. การเรียก, การร้องขอ
  44. อาทิยนตา : อิต. ความยึดถือ, การถือเอา
  45. อานยน : (นปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
  46. อุจฺจาสยนมหาสยน : (นปุ.) ที่นอนสูงและที่ นอนใหญ่.
  47. อุตฺตรายน : (นปุ.) พระอาทิตย์เป็นไปเหนือ. วิ. อุตฺตรํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ อุตฺตรายนํ. อุตฺตรปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คมเน, ยุ. ความจริงโลกเอียงไปทางใต้ เพราะโลก เดินรอบดวงอาทิตย์. ส. อุตฺตรายณ.
  48. อุทฺธุมายน : นป. การพอง, การบวม
  49. อุทยน : นป. การขึ้นไป, ความเจริญ
  50. อุปยน : ป. การแต่งงาน, การสมรส
  51. [1-50]

(0.0195 sec)